1 / 81

โดย รอง ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงดวงพร ทองงาม ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์

Physiology of Gastrointestinal and Pancreatic secretion. โดย รอง ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงดวงพร ทองงาม ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Secretion Salivary secretion Esophageal secretion Gastric secretion Small bowel secretion Large bowel secretion

monty
Download Presentation

โดย รอง ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงดวงพร ทองงาม ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Physiology of Gastrointestinal and Pancreatic secretion • โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงดวงพร ทองงาม • ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์ • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. Secretion Salivary secretion Esophageal secretion Gastric secretion Small bowel secretion Large bowel secretion Pancreatic secretion Bile secretion

  3. Salivary secretion Function of saliva - Lubrication ( by mucus ) - Protection ( by dilution and buffering of ingested food ) - Initial digestion of starch ( by amylase ) - Initial digestion of triglyceride ( by lingual lipase )

  4. Composition of saliva - High K+ and bicarbonate concentration - Low Na+ and Cl- concentration - Hypotonicity - Alpha amylase , lingual lipase , and Kallikrein โดยรวมแล้วน้ำลายหลั่งประมาณ 1.0– 2.0 ลิตรต่อวัน

  5. การควบคุมการสร้างและหลั่งน้ำลายการควบคุมการสร้างและหลั่งน้ำลาย • ถูกควบคุมโดย parasympathetic + sympathetic • โดยผลการกระตุ้นที่ parasympathetic จะเด่นชัดกว่า • (ผ่านทาง cranial nerve คู่ที่ 7, 9) • ถูกกระตุ้นได้จากอาหาร, การกลืน, รสชาดของอาหาร, • conditioned reflex, การคลื่นไส้อาเจียน • ถูกยับยั้งโดยการนอนหลับ, dehydration, ความกลัว • และยา anticholinergic เช่น atropine

  6. Esophageal secretion - ไม่มีการสร้างน้ำย่อย - มีแต่ mucous เพื่อหล่อลื่นและ ป้องกันอันตราย

  7. Gastric secretion กระเพาะอาหารหลั่งน้ำย่อยได้ประมาณ 2.5-3.0 ลิตรต่อวัน เป็นสารละลาย Isotonic ประกอบด้วยน้ำ, electrolyte , enzyme pepsin , gastric lipase , Intrinsic factor, mucin พบได้ตั้งแต่แรกเกิด เพิ่มมากขึ้นตาม maturity จนถึงอายุ 2 ปี จะเท่าผู้ใหญ่ และลดลง เมื่ออายุ > 70 ปี

  8. เซลล์ในกระเพาะอาหาร - Parietal cellbody , fundus HCl , Intrinsic factor - Chief cell body , fundus pepsinogen ( PG I , PG II ) - MNC antrum , cardia mucin - G cell antrum สร้าง gastrin - EC cell fundus , body histamine

  9. รูปร่างของ parietal cell มี 2 กลุ่ม - secreting cell จะมี long abundant microvilli - non-secreting cell จะมี abundant tubulo vesicular membrane cimetidine และ atropine สามารถยับยั้งการเปลี่ยนแปลงรูปร่างนี้ได้

  10. Regulation control of GI secretion phase 1 Cephalic phase : phase 2 Gastric phase : phase 3 Intestinal phase :

  11. Cephalic phase Cephalovagal stimulation จากการเห็น ได้กลิ่น รู้รส เคี้ยวหรือนึกถึงอาหารที่ชอบรวมทั้งภาวะ hypoglycemia สามารถกระตุ้น cerebral cortex และ lateral hypothalamus ผ่านทาง brainstem มาทาง vagus nerve ทำให้มีการสร้างและหลั่งน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร

  12. Gastric phase - gastric distension : mechanoreceptor - hormonal control : gastrin - neuronal control : vagal stimulation

  13. Intestinal phase - intestinal distension - hormonal control

  14. Gastric secretion ACh Histamine Gastrin Muscarinic receptor H2 receptor CCK-B receptor IP3 , Ca2+ Cyclic AMP IP3 , Ca2+ H+ secretion H+ secretion

  15. Gastric secretion ACh Histamine Gastrin AtropineCimetidine Muscarinic receptor H2 receptor CCK-B receptor IP3 , Ca2+ Cyclic AMP IP3 , Ca2+ Omeprazole Proglumide PG E2 H+ secretion

  16. กลไกของการกระตุ้นการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารกลไกของการกระตุ้นการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร 1. กระตุ้นผ่านระบบประสาท Parasympathetic โดยที่ ACh จะไปกระตุ้น muscarinic receptor บนผิวของ parietal cell ส่งต่อให้ second messenger ที่ IP3 ทำให้เพิ่ม intracellular Ca2+ เพิ่มการหลั่งกรด ยับยั้งโดยใช้ muscarinic blocking agent เช่น atropine

  17. 2. กระตุ้นผ่านทาง Histamine หลั่งมาจาก mast cell กระจายทั่วไปในเยื่อบุผิว กระตุ้นที่ H2-receptor มีผลเพิ่ม cAMP กระตุ้นการ หลั่งกรด ยับยั้งโดยใช้ยา H2 RA เช่น cimetidine , ranitidine หรือยับยั้งการเพิ่มของ cAMP โดยใช้ prostaglandin E2

  18. 3. Gastrin หลั่งจากการตอบสนองต่ออาหารเมื่อกระเพาะ อาหารขยาย (mechanoreceptor), ลักษณะของอาหาร (chemoreceptor) กระตุ้นผ่านเส้นประสาท vagus โดยที่ตัวรับรู้ของ gastrin อยู่ที่ CCK-B receptor มี second messenger ทำให้เพิ่ม intracellular Ca2+ กระตุ้นให้หลั่งกรดได้ สามารถยับยั้งขั้นตอนนี้โดยใช้ Proglumide

  19. H-K-ATPase pump ถูกยับยั้งโดย -covalent antagonist ได้แก่ benzimidazole (proton pump inhibitor, PPI) เช่น omeprazole -K-competitive antagonistเป็นยากลุ่มใหม่ คือ Imidazopyridine

  20. Lumen of stomach Gastric parietal cell Blood Cl- Cl- HCl H+ H+ + HCO3- HCO3- (“alkaline tide”) K+ H2CO3 CA Na+ CO2 + H2O K+ Simplified mechanism of secretion of H+ by gastric parietal cells.

  21. กลไกการหลั่งกรดในระดับเซลล์กลไกการหลั่งกรดในระดับเซลล์ เริ่มจาก CO2ใน plasma และ metabolism ของ parietal cell ทำปฏิกิริยากับ H2O ได้เป็น H2CO3 โดยอาศัยเอนไซม์ carbonic anhydrase ถูกเปลี่ยนแปลงได้เป็น H+ + HCO3- ใน parietal cell

  22. H+ ถูกหลั่งเข้าสู่กระเพาะอาหารโดยแลกเปลี่ยน กับ K+ อาศัย H+-K+ ATPase pump การแลกเปลี่ยนนี้เป็นแบบ 1:1 ในระหว่างนี้ Cl- จะถูกหลั่งออกมาด้วย รวมกันอยู่ในรูปกรดเกลือ (HCl)

  23. HCO3- ที่ถูกสร้างขึ้นในเซลล์ จะถูกดูดซึมเข้าสู่ กระแสเลือดโดยแลกเปลี่ยนกับ Cl- เรียกว่า Cl--HCO3- exchange โดยอาศัยพลังงาน ดังนั้นในระหว่างการย่อยอาหารจะเกิดภาวะ alkaline tide คือ PH ของบริเวณนั้นเป็นด่างได้

  24. Inhibition of gastric H + secretion Negative feedback 1. Low PH < 3.0 in stomach - inhibit gastrin secretion 2. Chyme in duodenum - inhibit H+ secretion via GIP , secretin 3. Gut Hormone - CCK, somatostatin, Prostaglandin

  25. การวิเคราะห์ Gastric acid secretion การใส่ NG tube เพื่อดูดน้ำย่อยในกระเพาะอาหารมาตรวจวิเคราะห์เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด หาปริมาณ H+ ทำได้จากการ titrate in vitro ด้วย base (NaOH) หรือการวัดจาก pH electrodeโดยตรง

  26. Basal Acid Output (BAO) • คือภาวะการหลั่งกรดโดยไม่มีการกระตุ้นใดๆ • ค่าเฉลี่ยประมาณ 1.4-2.6 mmol/hr • มีค่าแตกต่างในแต่ละคน และมี diurnal variation • ช่วงเวลาที่มีการหลั่งกรดต่ำสุดคือเช้า 5-11 AM , • สูงสุดคือบ่ายและเย็น 2-11 PM • ผู้ชายสูงกว่าผู้หญิง • upper normal limit10 mmol/hr.

  27. Peak Acid Output (PAO) คือการหลั่งกรดที่มากสุด หลังถูกกระตุ้นด้วย pentagastrin หรือ histamine สามารถบอกถึง parietal cell mass ได้ พบว่า PAOผู้ชายสูงกว่าผู้หญิง, ในคนสูบบุหรี่ สูงกว่าคนไม่สูบ มีค่า upper normal limit คือ 65 mmol/hr.

  28. Gastric enzyme - Pepsinogen : PG I , PG II ถูกเปลี่ยนเป็น pepsin เพื่อย่อยโปรตีน - Gastric lipase : เพื่อย่อยไขมัน - Rennin : เพื่อย่อย โปรตีน casein ในน้ำนม - Gelatinase : เพื่อย่อย gelatin - Gastric amylase : เพื่อย่อยแป้ง

  29. Gastric mucin secretion หลั่งจาก mucous neck cell เป็นสาร neutral glycoprotein ทำหน้าที่ Barrier to H+ Combine with HCO3- ให้เป็น gel Protect surface epithelial injury จาก H+ , Pepsin ความหนา เฉลี่ย 0.2 - 0.6 mm. ลดลงโดย aging , ยา NSAIDs , N - acetyl cysteine

  30. Gastric bicarbonate secretion การหลั่ง HCO3- เป็น energy dependent , metabolic process ปกติจะตรวจไม่พบใน gastric juice ถูกหลั่งจาก surface epithelial cell เพื่อป้องกัน การทำลายผิวจากกรด ถูกกระตุ้นโดย vagal stimulation , PGE2

  31. Intrinsic factor เป็น glycoprotein ทำหน้าที่เป็น vit B12 binding protein ความผิดปกติ ของ IF พบได้ในโรค pernicious anemia โดยจะตรวจพบมี antibody ต่อ parietal cell IF ไม่ถูกยับยั้งโดย H+ K+ ATPase แต่ลดลงได้จาก cimetidine

  32. ภาวะที่มี increase acid secretion Duodenal ulcer ZE syndrome Systemic mastocytosis Antral G cell hyperplasia Hyperparathyroid H. pyroli gastritis

  33. ภาวะที่มี decrease acid secretion Chronic atrophic gastritis Chronic active superficial gastritis ซึ่งเกิดได้จาก autoimmune , HIV , H. pyroli , aging , severe hypocalcemia

  34. Pancreatic secretion ตับอ่อนประกอบด้วยทั้งส่วนที่เป็น exocrine คือสร้างน้ำย่อย และ bicarbonate ประมาณวันละ 1.5-2.5 ลิตรและส่วนที่เป็น endocrine เพื่อสร้างฮอร์โมน เช่น Insulin , glucagon , somatostatin หลั่งเข้าสู่กระแสเลือด

  35. ส่วนที่เป็น exocrine ประกอบด้วยต่อมเล็กๆ เรียกว่า acinar cell สร้างและหลั่งเอนไซม์กับเมือก ส่วน centroacinar cell จะหลั่งน้ำและอิเลคโตรไลท์ เข้าสู่ intercalated duct ไปท่อขนาดใหญ่ขึ้นจนถึง pancreatic duct ชื่อ duct of Wirsung รวมกับท่อน้ำดี เปิดเข้าสู่ 2 nd duodenum ที่ Ampulla of Vater ควบคุมการหลั่งโดยหูรูดชื่อ Sphincter of Oddi

More Related