1.4k likes | 4.49k Views
วิชา ทหารขนส่ง. ผู้บรรยาย. พ.ต.สิงห์คำ กันทะลา อาจารย์ รร.ขส.ขส.ทบ. ทหารขนส่ง. เส้นโลหิตของกองทัพ. ความมุ่งหมาย. เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาได้มีความรู้ในเรื่อง - การจัด, ภารกิจของทหารขนส่ง - การสงกำลังบำรุงสาย ขส. การซ่อมบำรุง สป.สาย ขส.
E N D
วิชา ทหารขนส่ง ผู้บรรยาย พ.ต.สิงห์คำ กันทะลา อาจารย์ รร.ขส.ขส.ทบ.
ทหารขนส่ง เส้นโลหิตของกองทัพ
ความมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาได้มีความรู้ในเรื่อง - การจัด, ภารกิจของทหารขนส่ง - การสงกำลังบำรุงสาย ขส. การซ่อมบำรุง สป.สาย ขส. - ว่าด้วยการรับส่ง สป. ๒๕๐๐ - การรับส่ง สป.โดยละเอียด - การดำเนินการ สป.เก็บซ่อมสาย ขส. - การดำเนินการ สป.ที่ยึดได้สาย ขส.
ขอบเขตการบรรยาย การจัดและภารกิจของ ขส. การจจัดและภารกิจของสำนักงาน ขส. ระเบียบว่าด้วยกการรับ สป. โดยละเอียด การส่งกำลัง, การซ่อมบำรุง สป.สาย ขส. การดำเนิน สป. เก็บซ่อมสาย ขส.
กำเนิดทหารขนส่ง ประวัติความเป็นมาของกรมการขนส่งทหารบกแบ่งเป็น 3 ยุคคือ 1. ยุคแรกกำเนิด 2. ยุคจัดตั้งกรมพาหนะทหารบก 3. ยุคเปลี่ยนแปลงเป็น กรมการขนส่งทหารบก
1. ยุคแรกกำเนิด - 7 ก.พ. 2448 ตั้ง “กรมพาหนะ” ขึ้นตรง กรมบัญชาการทหารมณฑลกรุงเทพฯ - พ.ศ.2451 เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมทหารพาหนะรักษาพระองค์” ขึ้นตรงกองพลที่ 1 รักษาพระองค์
- พ.ศ.2453 “กรมทหารพาหนะ รักษาพระองค์” เปลี่ยนไปขึ้นตรง กองทัพภาคที่ 1 และเปลี่ยนชื่อเป็น “กรมทหารพาหนะ กองทัพที่ 1” - พ.ศ.2456 “กรมทหารพาหนะ กองทัพที่ 1” กลับไปขึ้นตรง กองพลที่ 1 ตามเดิม - พ.ศ.2456-2458 “กรมทหารพาหนะฯ” กลับไปขึ้นตรง กองทัพน้อยทหารบกที่ 1
ปี พ.ศ. 2461 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 • จัดกำลังร่วมรบในนาม กองทหารบกรถยนต์ • รัฐบาลฝรั่งเศสให้เหรียญตราชื่อว่า “ครัวเดอแกร์” • อยู่ที่ พล 1 รอ. และ พิพิธภัณฑ์ ทบ.
- พ.ศ.2468 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลง ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในที่สุดหน่วยทหารจึงถูกยุบเลิก ภารกิจต่างๆจึงตกอยู่กับทหารสัมภาระ โดยสิ้นเชิง
2. ยุคจัดตั้งกรมพาหนะทหารบก - พ.ศ.2480 ตั้ง “กรมพาหนะทหารบก” ขึ้นตรง กรมพลาธิการทหารบก รับผิดชอบเกี่ยวกับ รถยนต์ การเก็บรักษา และแจกจ่ายน้ำมันให้แก่หน่วยต่างๆ ทั่วกองทัพบก
- พ.ศ.2488 “กรมพาหนะทหารบก” แยกจากกรมพลาธิการทหารบก ไปขึ้นตรงต่อกองทัพบก - พ.ศ.2491 ส่งนายทหารไปศึกษาวิชาขนส่งในต่างประเทศเป็นครั้งแรกกลับมาได้ปรับปรุงกิจการของทหารพาหนะ
3. ยุคเปลี่ยนเป็นกรมการขนส่งทหารบก - กลางปี พ.ศ.2494 กองทัพบกจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดหน่วยในกองทัพบกใหม่ - 5 ส.ค.2495 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปลี่ยนชื่อ “ กรมพาหนะทหารบก” เป็น “กรมการขนส่งทหารบก”
กระทรวงกลาโหม สลก.รมต. สป.กห. บก.สูงสุด รอ.
บก.สูงสุด ทบ. ทร. ทอ. อื่น ฯ
กองทัพบก ส่วนบัญชาการ ส่วนการศึกษา ส่วนภูมิภาค ส่วนกำลังรบ ส่วนสนับสนุนการรบ ส่วนส่งกำลังบำรุง ส่วนช่วยพัฒนาประเทศ
กพ.ทบ.สบ.ทบ.สพ.ทบ. ขว.ทบ.กง.ทบ.ขส.ทบ. ยก.ทบ.สห.ทบ.พธ.ทบ. กบ.ทบ.กสร.ทบ.ยย.ทบ. กร.ทบ.สวพ.ทบ. กส.ทบ. สปช.ทบ. ศอว.ทบ.วศ.ทบ. สตช.ทบ.กช.ทบ. สก.ทบ.สส. จบ.พบ.
ส่วนส่งกำลังบำรุง กช. หน่วย ช. คลัง ช.ป.72 สพ.ทบ. หน่วย สพ. คลัง สพ.ทบ..ทบ. พบ. หน่วย พ. คลัง พ.
ส่วนส่งกำลังบำรุง ยย.ทบ. คลัง ยย. หน่วย ช. วศ.ทบ. หน่วย วศ. คลัง วศ.ทบ..ทบ. สส.. หน่วย ส. คลัง ส.
ส่วนส่งกำลังบำรุง พธ.ทบ. หน่วย พธ คลัง พธ.ป.72 ขส.ทบ. หน่วย ขส. คลัง ขส.ทบ..ทบ. กส.ทบ. หน่วย กส. คลัง กส.
การจัดและภารกิจของกรมการขนส่งทหารบกการจัดและภารกิจของกรมการขนส่งทหารบก
กรมการขนส่งทหารบก อัตราเฉพาะกิจหมายเลข 3100 ภารกิจ 1.1 วางแผน อำนวย ประสานงาน แนะนำ กำกับการ ดำเนินการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ - การจัดหา , ส่งกำลัง , ซ่อมบำรุง และการบริการ 1.2 กำหนดหลักนิยมและทำตำรา ตลอดทั้งการฝึกและศึกษาทั้งนี้เกี่ยวกับ - กิจการ และ สิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารขนส่ง
ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สำคัญขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สำคัญ 1. วางแผน อำนวยการ ประสานงาน แนะนำ กำกับการ ส่งกำลังบำรุงสายขนส่ง 2. ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ให้คำแนะนำวิชาการสายขนส่งเกี่ยวกับการผลิต,จัดหา,ส่งกำลัง,ซ่อมบำรุง และ บริการ 3. กำหนดมาตรฐานและคุณลักษณะเฉพาะ สป.สาย ขส. 4. รวบรวมความต้องการ และดำเนินการด้านงบประมาณ ส่งกำลังบำรุงสาย ขส.และ การเคลื่อนย้ายสนับสนุนหน่วยต่างๆใน ทบ.
ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สำคัญขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สำคัญ 5. ขนส่งกำลังพล สัตว์ และสิ่งอุปกรณ์ให้ นขต.ทบ. ทางบก,ลำน้ำ,อากาศ และทางรถไฟอย่างจำกัด 6. ฝึกศึกษาและอบรมกำลังพลเหล่า ขส. และเหล่าอื่น 7. กำหนด หลักนิยม ทำหลักสูตร ตำราวิชาเหล่าทหารขนส่ง และประสานวิชาการกับเหล่าอื่นๆ 8. ทดสอบและออกใบอนุญาตขับรถยนต์ทหารให้แก่กำลังพลในทบ. 9. จัดทำ และออกแบบเครื่องช่วยฝึกที่เกี่ยวกับวิชาเหล่าทหารขนส่ง
กรมการขนส่งทหารบก อฉก. 3100 กองยุทธการ และการข่าว แผนกธุรการ กองส่งกำลังบำรุง กองงบประมาณ กองกำลังพล กองยานพาหนะ กองการบิน กองวิทยาการ กองคลัง กองซ่อม กองจัดการเคลื่อนย้าย กองการเงิน กองจัดหา กองบริการ พัน ขส.ซบร.บ.ทบ. โรงเรียนทหารขนส่ง กรม ขส.รอ. นขต.ทบ. ฝากการบังคับบัญชาไว้กับ ขส.ทบ.
แผนกธุรการ หน้าที่ 1. งานสารบรรณและงานธุรการทั่วไป 2. เก็บรักษา,กฎระเบียบ,ข้อบังคับ และธรรมเนียมต่างๆ 3. พิมพ์เอกสาร หลักฐานต่างๆของทางราชการเป็นส่วนรวม 4. ดำเนินงานธุรการและกำลังพลใน ขส.ทบ. 5. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองกำลังพล แผนกปกครอง แผนกจัดการ แผนกเตรียมการ หน้าที่ - วางแผน อำนวยการ ประสานงาน กำกับการ เรื่อง - การบรรจุ เลื่อน ลด ปลด ย้าย เลื่อนฐานะ - การไปช่วยราชการนอกหน่วย , การไปปฏิบัติราชการพิเศษ - การปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ แบบธรรมเนียมทหาร การลงทัณฑ์ - การบำรุงขวัญ การบริการกำลังพล ตลอดจนบันทึกและรายงานสถิติผลงาน ห
กองยุทธการและการข่าว แผนกแผน แผนกการฝึกและศึกษา แผนกการข่าวและรปภ. หน้าที่ - วางแผน อำนวยการ ประสานงาน กำกับการ เรื่อง - การขนส่ง , เคลื่อนย้าย, การใช้เครื่องมือขนส่งและจัดลำดับเร่งด่วนการขนส่ง - การจัดหน่วยทหารขนส่งทั้งในยามปกติ และ ยามสงคราม - การฝึกศึกษาของเหล่าทหารขนส่ง,กำหนดหลักนิยมการปฏิบัติทางยุทธวิธี - การข่าวและการรักษาความปลอดภัย ห
กองส่งกำลังบำรุง แผนกความต้องการ แผนกส่งกำลัง แผนกควบคุม แผนกซ่อมบำรุง ห หน้าที่ - วางแผน อำนวยการ ประสานงาน กำกับการ เรื่อง - การส่งกำลังบำรุงสิ่งอุปกรณ์สายขนส่งให้แก่หน่วยต่างๆใน ทบ. - จัดทำโครงการและงบประมาณภายในกรมการขนส่งทหารบก - บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองงบประมาณ แผนกงบประมาณ แผนกควบคุมภายใน แผนกตรวจสอบและวิเคราะห์ ห ( ต่อ ) หน้าที่ - สำรวจและวิเคราะห์ปัญหาการบริหารงาน เพื่อปรับปรุงการจัดหน่วย และระบบการดำเนินงานที่ไม่เกี่ยวกับยุทธวิธี - บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองการเงิน แผนกบัญชี แผนกควบคุมการเบิกจ่าย แผนกรับจ่ายเงิน ห หน้าที่ - ให้คำปรึกษา,ข้อเสนอแนะแก่ ผบ.ชา และ ฝอ. ในเรื่อง ระเบียบและเรื่องการเงิน - ประสานงานและดำเนินการเกี่ยวกับ เบิกรับ,เก็บรักษา,จ่ายเงินของทางราชการ - ตรวจสอบและเก็บรักษาหลักฐานเอกสารเกี่ยวกับการเงินทั้งปวงของหน่วย - ควบคุม ดูแล ดำเนินการในเรื่องการเงินของ ขส.ทบ. และหน่วยขึ้นตรงให้ถูกต้องตาม กฎ ระเบียบ คำสั่ง และนโยบาย ของทางราชการ
กองการเงิน แผนกควบคุมการเบิกจ่าย แผนกบัญชี แผนกรับจ่ายเงิน ห ( ต่อ ) หน้าที่ - จัดทำบัญชีให้ถูกต้องตรงกับความเป็นจริง - บันทึก และ รายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองวิทยาการ แผนกห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์ แผนกวิจัยและพัฒนา แผนกวิชาการ แผนกสถิติ หน้าที่ - อำนวยการ ประสานงานและดำเนินการเกี่ยวกับ การค้นคว้า วิจัย พัฒนา ทดลอง ดัดแปลง สิ่งอุปกรณ์สายขนส่ง - ให้คำแนะนำทางวิชาการสายขนส่ง - กำหนดมาตราฐานและคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งอุปกรณ์สายขนส่ง - ดำเนินกิจการห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์ของเหล่าทหารขนส่ง - บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่ ห
กองจัดการเคลื่อนย้าย แผนกตรวจสอบ แผนกเคลื่อนย้าย แผนกรับส่งสิ่งอุปกรณ์ต่างประเทศ ภารกิจ - ตรวจใบแลกการขนส่ง - ปะสานการเคลื่อนย้ายและการขนส่งฯ - รับ – ส่ง สป. ต่างประเทศ ห
กองจัดหา แผนกควบคุมการจัดหา แผนกจัดหาในประเทศ แผนกจัดหาต่างประเทศ หน้าที่ - วางแผน อำนวยการ ประสานงาน ดำเนินการ และทำสัญญาจัดหา,จ้างเหมา สป.สายขนส่ง และ สป.สายยุทธบริการอื่นๆให้เป็นไปตามระเบียบฯ - จัดทำแผนและจัดหา สป.ต่างๆให้สอดคล้องกับแผนการจัดหาของ ทบ. - เสนอแนะผบ.ชา เกี่ยวกับการจัดหา สป.และการบริการ - ตรวจสอบผลการจัดหาให้ตรงกับความต้องการของทางราชการ - บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่ ห
กองบริการ แผนกพลาธิการ แผนกสวัสดิการ กองร้อยบริการ หน้าที่ - ประสานงาน และ ดำเนินการเกี่ยวกับการสนับสนุนในด้าน - สวัสดิการ - พลาธิการ - รักษาความปลอดภัย - บริการแรงงาน - และบริการอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายให้แก่หน่วยต่างๆใน ขส.ทบ. - บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่ ห
กองซ่อม แผนกควบคุมคุณภาพและควบคุมการจ้างซ่อม แผนกเครื่องมือกลสาย ขส. แผนกซ่อมตัวรถและเรือ แผนกซ่อมอุปกรณ์รถและเรือ หน้าที่ - อำนวยการ ประสานงาน ดำเนินการ และกำกับการ เรื่องซ่อมบำรุง สป.สาย ขส. - เสนอแนะ ผบ.ชา และ ฝอ. เกี่ยวกับ สป.สาย ขส. - ทำแผนซ่อมบำรุงยานพาหนะสาย ขส. - รวบรวมและเสนอความต้องการ ชิ้นส่วนซ่อม, เครื่องมือเครื่องใช้ และวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการซ่อมบำรุง - จัดชุดซ่อมเคลื่อนที่ ห
( ต่อ ) หน้าที่ - ประสานงานการซ่อมบำรุงกับหน่วยที่เกี่ยวข้อง - อำนวยการ ควบคุม ประสานงาน และกำกับดูแลการกำหนดความต้องการงบประมาณการซ่อมบำรุง - ดำเนินการตรวจสอบ ทดสอบ และควบคุม การซ่อมบำรุงให้ถูกต้อง -ดำเนินการผลิตแผ่นป้าย ทะเบียน รถยนต์ทหาร - บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่ ห
กองคลัง แผนกควบคุมสิ่งอุปกรณ์ แผนกคลัง แผนกทะเบียน หน้าที่ - อำนวยการ ควบคุม ประสานงาน และกำกับดูแลการปฏิบัติงานของแผนกและคลังต่างๆ - ควบคุมการรักษาการณ์และกำกับดูแลรักษาความปลอดภัยของหน่วย - ควบคุมแรงงานและบริการยกขน - รวบรวมสถิติการรับจ่ายสป. และ รายงานสถานภาพสป.ตามระยะเวลา - ควบคุมและรับผิดชอบการใช้ยานพาหนะของหน่วย ห
กองคลัง แผนกควบคุมสิ่งอุปกรณ์ แผนกคลัง แผนกทะเบียน ( ต่อ ) หน้าที่ - ดำเนินกรรมวิธีทางเอกสารเกี่ยวกับการรับ- จ่าย สป. - ควบคุมและดำเนินการในเรื่องการรับ-จ่าย สป.สาย ขส.และ สป.สายอื่นๆ - ทำการปรนนิบัติบำรุง และ ซ่อมบำรุงขณะเก็บรักษา - ทำการจดทะเบียนและประวัติยานพาหนะ - บันทึก และ รายงานสถิติตามหน้าที่ ห
กองยานพาหนะ แผนกส่งกำลังและซ่อมบำรุง แผนกรถยนต์นั่ง แผนกรถยนต์บรรทุก แผนกรถยนต์โดยสาร แผนกรถยนต์เฉพาะการ ห หน้าที่ - ประสานงาน ดำเนินการ และ กำกับการเกี่ยวกับการขนส่ง กำลังพล สิ่งอุปกรณ์ และ สัตว์ ให้แก่หน่วยในทบ. และ หน่วยอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย - ทำการ ปรนนิบัติบำรุง และ ซ่อมบำรุงขั้นหน่วยให้กับยานพาหนะที่รับผิดชอบ - เบิกทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิง และ น้ำมันอุปกรณ์ให้ถูกต้องตามระเบียบฯ - รักษาความปลอดภัย ภายในหน่วย รวมทั้งยานพาหนะและสิ่งอุปกรณ์
( ต่อ ) หน้าที่ - ปกครองบังคับบัญชา ให้ความรู้ ฝึกอบรม และเพิ่มคุณลักษณะ ขีดความสามารถ ของ พลขับ และ ช่าง - ดำเนินการให้พลขับมีใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ทหาร และ นายท้าย กับช่างเครื่องเรือ มีใบอนุญาตของกรมเจ้าท่า - บันทึก และรายงานสถิติผลการปฎิบัติงานตามหน้าที่ ห
กองการบิน ฝูงเครื่องบิน ฝูงเฮลิคอปเตอร์ กองบังคับการ แผนกส่งกำลัง ชุด สฮร. แผนกซ่อมบำรุง ภารกิจ - สนับสนุนหน่วยต่างๆใน ทบ. ฝึกนักบิน บินเมล์ - พระบรมวงศานุวงศ์ - ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ห
ฝูงเครื่องบิน(ปีกติดลำตัว) - ดอนเมือง (บน.6 ) - บท. 41 2 เครื่อง ( JETSTREAM ) - บท. 1900 2 เครื่อง ( BEECHCRAFT ) - บล. 212 2 เครื่อง ( CASA )
กองการบิน ฝูงเครื่องบิน( ปีติดลำตัว ) - ดอนเมือง ( บน. ๖ ) - บท. ๔๑ ( Jetstream ) ๒ เครื่อง - บท. ๑๙๐๐ ( Beechcraft ) ๒ เครื่อง - บล. ๒๑๒ ( Casa ) ๒ เครื่อง ห
สมรรถนะ บท.41 น้ำหนัก ตัวเปล่า 14,210 ปอนด์ วิ่งขึ้นสูงสุด 24,000 ปอนด์ บรรจุเชื้อเพลิง 5,800 ปอนด์ ความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 900 ปอนด์ / ชั่วโมง ความเร็วเดินทาง 240 น็อต ผู้โดยสาร 29 คน พิสัยการบิน 1,500 NM
สมรรถนะ บท.1900 น้ำหนัก ตัวเปล่า 11,600 ปอนด์ วิ่งขึ้นสูงสุด 16,600 ปอนด์ บรรจุเชื้อเพลิง 4,400 ปอนด์ ความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 974 ปอนด์ / ชั่วโมง ความเร็วเดินทาง 240 น็อต ผู้โดยสาร 18 คน พิสัยการบิน 864 NM