120 likes | 361 Views
ศูนย์เรียนรู้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ. ยินดีต้อนรับ. คณะศึกษาดูงานทุกท่าน. ด้วยความยินดีอย่างยิ่ง. หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ทางสายกลาง. พอประมาณ. มีเหตุผล. มีภูมิคุ้มกันในตัว. เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน).
E N D
ศูนย์เรียนรู้อันเนื่องมาจากพระราชดำริศูนย์เรียนรู้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ยินดีต้อนรับ คณะศึกษาดูงานทุกท่าน ด้วยความยินดีอย่างยิ่ง
หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว เงื่อนไขคุณธรรม(ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) เงื่อนไขความรู้(รอบคอบ รอบรู้ ระมัดระวัง) ชีวิตเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สมดุล มั่นคง และยั่งยืน
การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) จุดอ่อน ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ขาดน้ำทำการเกษตรในฤดูแล้ง ขาดปัจจัยพื้นฐาน (ที่ดิน ทุน พันธุ์ฯ แรงงาน) งบประมาณไม่เพียงพอ จุดแข็ง มีการรวมกลุ่ม-ชุมชนที่เข้มแข็ง ผู้นำและชุมชนมีความเข้มแข็ง สามัคคี/ปรองดอง มีสถานที่ การคมนาคมสะดวก อยู่ใกล้ชุมชน โอกาส ขาดแหล่งน้ำทางการเกษตร ต้นทุนปัจจัยการผลิตสูง ภัยธรรมชาติ /ฝนแล้ง อุปสรรค
ศูนย์การเรียนรู้บ้านดอนงามพัฒนา ศูนย์การเรียนรู้บ้านดอนงามพัฒนา ประวัติความเป็นมาของศูนย์การเรียนรู้บ้านดอนงามพัฒนา จัดตั้งเมื่อวันที่ 8ตุลาคม พ.ศ. 2549 โดยได้แนวความคิดมาจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 9 นำมาปรับใช้กับชุมชน ในปีนั้นที่เศรษฐกิจของประเทศตกต่ำ ทำให้เกษตรกรที่ประกอบอาชีพทางการเกษตรประสบปัญหาต้นทุนทางการผลิตสูง ทำให้ผลผลิตที่ได้ไม่ได้ตามความต้องการ จึงต้องรวมกลุ่มกัน สร้างอาชีพเสริมให้กับตนเอง โดยการปลูกพืชผักสวนครัว แบบปลอดสารพิษ เริ่มต้นครั้งแรกมีสมาชิก 10 คน ระดมหุ้นคนละ 100 บาท เป็นแกนนำ โดยอาศัยพื้นที่และแหล่งน้ำในชุมชน ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาเป็นเวลานานหลายปี ในการทดลองปลูก ในช่วงฤดูหนาว โดยการปลูกพืชอายุสั้น หรือผัก 25-50 วันก่อน ทำให้มีรายได้จากการทดลองปลูกครั้งแรก รุ่นแรกเฉลี่ยต่อรุ่น รุ่นละ 3,000 - 4,000 บาท/ คน จึงทำให้เกิดมีสมาชิกเพิ่มขึ้นมาอีกเป็น 32 คน โดยขยายพื้นที่เป็น 4 ไร่ และเป็นแหล่งน้ำ 8 ไร่ ให้สมาชิกได้ใช้ประโยชน์ โดยสมาชิกทุกคนจะได้รับการจัดสรรแปลงปลูกเท่ากัน และมีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เดือนละครั้ง จากการปลูกผักปลอดสารพิษนี้ทำให้กลุ่มมีรายได้ และลดปัญหาการใช้สารเคมีในชุมชน จึงได้มีการจัดกิจกรรมเพิ่มขึ้น คือมีการเลี้ยงปลาในกระซัง มีการเลี้ยงกบ มีการเพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงหมูหลุม การปลูกข้าวอินทร์ไว้ทำพันธุ์ เป็นการเพิ่มรายได้จากการปลูกผักปลอดสารพิษอีกหนึ่งหนทาง
เส้นทางการพัฒนา พ.ศ.2549 เศรษฐกิจตกต่ำ ต้นทุนสูง ขาดทุน เกิดการรวมกลุ่ม ระดมทุน นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม พ.ศ.2550 ได้รับการสนับสนุนโครงการอยู่ดีมีสุข เทศบาลสนับสนุนงบ ศึกษา เรียนรู้ ปลูกผักปลอดสารพิษ ผักสวนครัว รั้วกินได้ แบ่งหน้าที่ พ.ศ.2551 เพิ่มกิจกรรม โรงปุ๋ยอินทรีย์ หมูหลุม เลี้ยงไก่ เป็ด เพาะเห็ดต่างๆ ปลูกข้าวอินทรีย์ รัฐให้การสนับสนุน เป็นแหล่งเรียนรู้ ดูงาน พ.ศ.2552-53 เป็นแหล่งงเรียนรู้ในชุมชน สร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตที่พอเพียง ชุมชนเข้มแข็ง จัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนา อาชีพ และ เพิ่มรายได้ เพื่อส่งเสริม การใช้ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น เพื่อสร้าง ความรัก ความสามัคคี ในกลุ่มคน เพื่อส่งเสริม การทำงาน เป็นทีม แบบมี ส่วนร่วม เพื่อสร้าง ภูมิคุ้มกัน ให้กับ สมาชิก
บริหารจัดการ ในรูปคณะกรรมการ กิจกรรมดำเนินการ ศูนย์เรียนรู้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการปลูกผัก ปลอดสารพิษ โครงการเลี้ยงปลา เลี้ยงกบในกระชัง โครงการเพาะเห็ด โครงการผลิต ปุ๋ยอินทร์อัดเม็ด โครงเลี้ยงสัตว์ (ไก่ หมูหลุม)
โครงการปลูกผักปลอดสารพิษโครงการปลูกผักปลอดสารพิษ
การจัดการดินเตรียมแปลงปลูกโดยใช้จอบขุดตากหน้าดินไว้ 15 วัน ใช้ปูนขาว และ ใช้ปุ๋ยคอกรองก้นหลุม หรือใช้เครื่องไถเตรียมแปลงปลูก ตัวอย่าง เช่น การปลูก ผักบุ้งจีน การหว่านเมล็ดพันธุ์แบบปลูกหมุนเวียน โดยใช้น้ำจากแหล่งน้ำในชุมน การจัดการพืชผักปี 2549เริ่มปลูก ผักบุ้งจีน โหระพา กระเพรา มะเขือเทศ ฯลฯ การจัดการศัตรูพืช ไม่ใช้สารกำจัดศัตรูพืชโดยมีนักวิชาการจากเกษตรอำเภอ เทศบาลฯมาแนะนำให้ใช้สารชีวภาพ การจัดการผลิตของเกษตรกรถึงระบบการปลูก เช่น ในพื้นที่1 ไร่ จะปลูกผัก 1 - 2 ชนิด หรือ เกษตรกรบางรายปลูกผัก 3-4 ชนิด และมีเกษตรกรบางรายปลูกผักเพียงชนิดเดียว เพื่อสะดวกในการจัดการและเหมาะสมกับแรงงานในครอบครัว ผักบุ้งจีน แตงกวา กินฉ่าย มะเขือเทศ ปอแดง
การตลาดการเตรียมการปฏิบัติดูแลตั้งแต่ปลูกถึงเก็บเกี่ยว มีการตกแต่งผัก และบรรจุใส่ภาชนะพลาสติก แหล่งจำหน่าย ที่สำคัญ คือ ตลาดสดในและนอกเขตเทศบาล การตกแต่งผัก
โครงการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ น้ำหมัก โครงการเลี้ยงหมู ไก่ โครงการเพาะเห็ด โครงการเลี้ยงกบ ปลาในกระชัง เลี้ยงปลาในกระชัง เลี้ยงหมูหลุม การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ น้ำหมักธรรมชาติ ตัวอย่างความสำเร็จของเกษตรกร ภายใต้ความร่วมมือร่วมใจ การประสานประโยชน์ และอุดมการณ์ กติกา เงื่อนไข ที่สมาชิกกลุ่มปฏิบัติร่วมกันนั้น ส่งผลให้เกษตรกร มีอาชีพ มีงานทำ มีรายได้มั่นคง ชุมชนมีความสุข แค่นี้ก็พอเพียงสำหรับกลุ่ม เพาะเห็ดนางฟ้า เลี้ยงกบ