430 likes | 2.01k Views
ยินดีต้อนรับ. คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 6 – 7 กรกฎาคม 2554. วิสัยทัศน์. คณะวิทยาศาสตร์จะเป็นคณะที่ผลิตบัณฑิตชั้นนำของประเทศ และสร้างความเป็นเลิศด้านการวิจัยเฉพาะทาง. พันธกิจ.
E N D
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 6 – 7 กรกฎาคม 2554
วิสัยทัศน์ คณะวิทยาศาสตร์จะเป็นคณะที่ผลิตบัณฑิตชั้นนำของประเทศ และสร้างความเป็นเลิศด้านการวิจัยเฉพาะทาง พันธกิจ ผลิตบัณฑิตวิทยาศาสตร์ให้มีความรู้คู่คุณธรรม ถ่ายทอดและบริการวิชาการที่ถูกต้องทันสมัย วิจัยเน้นการพัฒนาภาคใต้ มุ่งสู่มาตรฐานระดับสากล
ข้อมูลเบื้องต้นของคณะวิทยาศาสตร์ข้อมูลเบื้องต้นของคณะวิทยาศาสตร์
ทีมบริหารคณะวิทยาศาสตร์ทีมบริหารคณะวิทยาศาสตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์(รศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข) ที่ปรึกษาคณบดี(รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์) รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา(รศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ) ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ(ผศ.ชุติพร จิโรจน์กุล) รองคณบดีฝ่ายการคลังและบริการวิชาการ(รศ.ดร.วราภรณ์ ตันรัตนกุล) ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายระบบคุณภาพ(ดร.วันดี อุดมอักษร) รองคณบดีฝ่ายพัฒนาระบบและเทคโนโลยี(ผศ.ดร.อภิชัย ชูปรีชา) ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ(อาจารย์สมศักดิ์ คงแสง) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ(ผศ.ดร.ภัทร อัยรักษ์) ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและประชาสัมพันธ์(ดร.กมลธรรม อ่ำสกุล) รองคณบดีฝ่ายพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู้(ผศ.ดร.อำนาจ เปาะทอง) ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม(นายประสาท ศรประสิทธิ์) รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา(รศ.ลัดดา เอกสมทราเมษฐ์) รองคณบดีฝ่ายวิทยาศาสตร์สุขภาพ(ผศ.สมสมร ชิตตระการ)
พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ สถานสัตว์ทดลองภาคใต้ หน่วยเครื่องมือกลาง ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ยางพารา หน่วยประกันคุณภาพ สำนักงานเลขานุการคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชา/สาขาวิชา เครือข่ายวิจัย สถานวิจัยความเป็นเลิศจีโนมและชีวสารสนเทศ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ งานคลังและพัสดุ ภาควิชาจุลชีววิทยา • หน่วยคลัง • หน่วยพัสดุ สถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย ภาควิชาคณิตศาสตร์ ภาควิชาเคมี งานบริการการศึกษา ศูนย์เครือข่ายความเป็นเลิศด้านนาโนเทคโนโลยีภาคใต้ ภาควิชาชีวเคมี • หน่วยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา • หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ • หน่วยกิจการนักศึกษา • หน่วยโสตทัศนศึกษา ภาควิชาชีววิทยา สถานวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ภาควิชาเภสัชวิทยา สถานวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมมเบรน ระยะที่ 2 ภาควิชาฟิสิกส์ สถานวิจัยการวิเคราะห์สารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ งานบริหารและธุรการ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ • หน่วยสารบรรณ • หน่วยการเจ้าหน้าที่ • หน่วยอาคารสถานที่และยานพาหนะ หน่วยวิจัยพลาสติกชีวภาพ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ หน่วยวิจัยวัสดุผลึก ภาควิชาสรีรวิทยา งานนโยบายและแผน สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลและชีวสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คือ หน่วยงานที่จัดตั้งเป็นการภายใน
งบประมาณ และอาคารสิ่งก่อสร้าง ปีงบประมาณ 2553 ได้รับงบประมาณสำหรับดำเนินงาน 356,198,680 บาท และกองทุนวิจัย 13,069,635 บาท คณะวิทยาศาสตร์มีอาคารเรียนรวมและสนับสนุนวิจัย 4 หลัง แยกเป็นอาคารย่อยสำหรับภาควิชา 8 หลัง
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ (549 คน) สนับสนุนวิชาการ 91 คน 16.58 % สายวิชาการ 270 คน 49.18 % สนับสนุนบริหาร 188 คน 34.24 % * ปีการศึกษา 2551 *ไม่นับรวมอาจารย์ชาวต่างประเทศ (English consultant)1 คน
บุคลากรสายวิชาการ 270 คน ปริญญาเอก 151.5 คน วุฒิการศึกษา (56.11%) ปริญญาโท 99.5 คน (36.85%) ปริญญาตรี 19 คน (7.04%) ตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ 3 คน (1.11%) อาจารย์ 148.5 คน (55.00%) รองศาสตราจารย์ 47 คน (17.41%) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 71.5 คน (26.48%) - จำนวนบุคลากรที่ลาศึกษาต่อ 39 คน
จำนวนนักศึกษาในปีการศึกษา 2553 (3,024 คน) ปริญญาโท 257 คน (8.50%) ปริญญาตรี 2,638 คน (87.24%) 442 คน(13%) ปริญญาเอก 129 คน(4.26%)
วท.บ. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต 13 หลักสูตร หลักสูตรที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2553 วท.ม. ปร.ด. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต18 หลักสูตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต10 หลักสูตร (1 หลักสูตรนานาชาติ)
ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) การมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย ด้านวิจัย
เงินสนับสนุนงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกสถาบันคิดเป็นอัตราส่วน 351,962 บาทต่อคน
การพัฒนากลุ่มวิจัยและผลงานวิจัยการพัฒนากลุ่มวิจัยและผลงานวิจัย หน่วยวิจัย(2) สถานวิจัย (3) สถานวิจัยความเป็นเลิศ(2) สาขาความเป็นเลิศ (1) อนุมัติโดยสภามหาวิทยาลัย เครือข่ายวิจัย (1)
สาขาความเป็นเลิศชีวเคมี (2543-2553) สร้างความเข้มแข็งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการสาขาชีวเคมี โดยสนับสนุนเป็นทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และผลิตผลงานทางวิชาการ วัตถุประสงค์ ประมาณ 4 ล้านบาทต่อปี งบประมาณ • มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ โดยนักศึกษาและอาจารย์ จำนวนมาก ผลงานตีพิมพ์ ผลิตภัณฑ์ครีมหน้าใสจากยางพารา ผลงานเด่น
สถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย (2549-2553) Centre for Biodiversity of Peninsular Thailand, CBIPT 1. สร้างความเข้มแข็งงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ 2. พัฒนาฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในคาบสมุทรไทย 3. พัฒนาเครือข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและความร่วมมือ ทางด้านวิชาการในงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ 4. สร้างบุคลากรด้านอนุกรมวิธาน 5. พัฒนางานวิจัยประสานงานกับหน่วยงานอื่นเพื่อไปสู่การใช้ประโยชน์ 6. สร้างจิตสำนึกของการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพแก่สาธารณชน วัตถุประสงค์ 7,837,000 บาท งบประมาณ Paleontology Research Group Terrestrial Research Group Molecular Biology Research Group Aquatic Research Group
ผลงานเด่น ด้านวิจัย • พบ "ส้มกุ้งใบเฟิร์น" พืชชนิดใหม่ของโลก • พบปลาหมึก 3 ชนิดใหม่ ครั้งแรกในน่านน้ำไทย • การจัดทำยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามันเพื่อการจัดการระบบนิเวศทางทะเล อ่าวเบงกอล • การสำรวจสถานการณ์ปะการังฟอกขาวร่วมกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ด้านบริการวิชาการ
Molcular biology of shrimp Bioinformatic Molecular Biology of rubber tree Molecular biology of oil palm สถานวิจัยความเป็นเลิศจีโนมและชีวสารสนเทศ (2548-2552) Centre for Genomics and Bioinformatics Research, CGB วัตถุประสงค์ 1. สร้างเครือข่ายวิจัยโดยเป็น hub ด้านจีโนมและชีวสารสนเทศให้กับกลุ่มวิจัยต่างๆ 2. ถอดรหัสพันธุกรรมและสร้างฐานข้อมูลจีโนม 10,250,000 บาท งบประมาณ ผลงานเด่น • มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติจำนวนมาก • อนุสิทธิบัตร เรื่อง กรรมวิธีการตรวจวัดการแสดงออกของยีนเบตาคาร์บอกซิลทรานสเฟอเรส (beta-carboxyltransferase) หน่วยย่อย D (accD) ในปาล์มน้ำมัน
สถานวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมมเบรน (ระยะ2 : 2551-2555) Membrane Science and Technology Research Center 1. พัฒนาเมมเบรนจากวัสดุอินทรีย์ และอนินทรีย์ให้มีสมบัติเหมาะสม จำเพาะเพื่อแยกสาร สำหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และทำงานวิจัยพื้นฐานด้านเยื่อบางและเซลล์ 2. วิจัยพัฒนาเพื่อการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเมมเบรนในอุตสาหกรรมอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีและสร้างความร่วมมือกับภาครัฐและ/ หรือเอกชน และเป็นแหล่งการใช้ ประโยชน์ผลการวิจัย ซึ่งนำไปสู่การใช้เทคโนโลยีเมมเบรนเพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิต และการผลิตเชิงพาณิชย์ วัตถุประสงค์ 3,653,000 บาท งบประมาณ - มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ และนานาชาติ รวม 11 ผลงาน - มีผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรจำนวน 2 ผลงาน 1.อุปกรณ์กรองสิ่งเจือปนในน้ำ 2. สูตรผสมและกรรมวิธีการผลิตเมมเบรนชนิดเซรามิกและผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากสูตรผสมและกรรมวิธีดังกล่าว ผลงานเด่น
สถานวิจัยการวิเคราะห์สารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์ (2551-2555) พัฒนาวิธีวิเคราะห์สารปริมาณน้อยโดยใช้เทคนิคทางโครมาโตกราฟีและไบโอเซนเซอร์ เพื่อประยุกต์ใช้ในการซวิเคราะห์ด้านอุตสาหกรรม อาหาร การแพทย์ และสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 5,000,000 บาท งบประมาณ ผลงานเด่น • ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ 16 ผลงาน • ได้รับรางวัลสถานวิจัยดีเด่น ประจำปี 2553 จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับประกาศเกียรติคุณ ประจำปี 2553 ในกลุ่มด้านการแพทย์และสาธารณสุข (สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช) จากสำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.)จากผลงาน อุปกรณ์ สกัดสารแบบไมโครที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” • รางวัลโครงงานที่มีผลการดำเนินการโดดเด่น จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย จากผลงาน อุปกรณ์ เก็บตัวอย่างและเซนเซอร์สำหรับฟอร์มาลดีไฮด์” • รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ปี 2552 กลุ่มด้านการแพทย์และสาธารณสุข สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช (ประเภทชมเชย)จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติจากผลงาน อุปกรณ์เก็บตัวอย่างสารอินทรีย์ระเหยในอากาศแบบพาสซีพ”
สถานวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (2551-2555) • สร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นพื้นฐานต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ • พัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่มีศักยภาพและมีความปลอดภัยสู่ชุมชน • จัดทำฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากผลงานวิจัยและเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลสากล • จัดฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพร • แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและความร่วมมือทางด้านวิชาการและวิทยาศาสตร์กับประเทศภาคีอื่น วัตถุประสงค์ 5,000,000 บาท งบประมาณ ผลงานเด่น • ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ รวมทั้งสิ้น จำนวน 15 ผลงาน • มีผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตรเรื่อง Use of morelloflavone for the treatment of post-angioplasty or in-stent restenosis • ผลิตภัณฑ์เจลล้างมือไม่ต้องใช้น้ำ เบญกานี
หน่วยวิจัยพลาสติกชีวภาพ (ระยะที่ 1 :2550-2552, ระยะที่ 2:2554-2556) สังเคราะห์พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพที่ดัดแปรมาจากยางธรรมชาติ ปรับปรุงสมบัติเชิงกลของพลาสติกย่อยสยายได้ทางชีวภาพเพื่อประโยชน์ทางการค้า วิจัยพลาสติกชีวภาพที่สังเคราะห์จากน้ำมันพืช วิจัยคัดเลือกจุลินทรีย์ เพื่อการย่อยสลายทางชีวภาพของพอลิเมอร์ที่ได้จากข้อ 1 และ 2 ทิศทางงานวิจัย 600,000 บาท งบประมาณ ผลงานเด่น • มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ และนานาชาติรวม 12 ผลงาน • ได้รับรางวัลเครือข่ายวิจัยดีเด่น ประจำปี 2553 ประเภท หน่วยวิจัย จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หน่วยวิจัยวัสดุผลึก (2551-2553) วิจัยในด้านสารสังเคราะห์ สารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และด้านทัศนศาสตร์ ทิศทางงานวิจัย 600,000 บาท งบประมาณ ผลงานเด่น • มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ 18 ผลงาน • ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก เช่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ศูนย์เครือข่ายความเป็นเลิศด้านนาโนเทคโนโลยีภาคใต้ภายใต้โครงการจัดตั้งอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ (2549-2553) สร้างกลุ่มเครือข่ายวิจัยที่สอดคล้องและตอบสนองต่อกลยุทธ์ของรัฐบาล สร้างความเข้มแข็งทางด้านเครือข่าย/ศูนย์วิจัยด้านนาโนเทคโนโลยี และถ่ายทอดไปยังเอกชนและก่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ รวมทั้งการผลิตทรัพย์สินทางปัญญา ทิศทางงานวิจัย งบประมาณ 66,000,000 บาท (คณะวิทยาศาสตร์สนับสนุน 1,250,000 บาท) หน่วยงานที่ให้การสนับสนุนงบประมาณ : มหาวิทยาลัย , คณะวิทยาศาสตร์ , ศูนย์นาโนฯ , คณะวิศวกรรมศาสตร์ , คณะเภสัชศาสตร์ ผลงานเด่น • มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ 2 ผลงาน ระดับนานาชาติ 9 ผลงาน • รศ.ดร.นันทกาญจน์ มุรศิต ได้รับเกียรติเป็นบรรณาธิการในเครือสำนักพิมพ์ Trans Tech Publications Ltd., Switzerland, UK, USA หนังสือชื่อ Energy harvesting with piezoelectric and pyroelectric materials (ISSN 1422-3597 Mat.Sci.Found.Vol.72, 2011) เป็นผู้เขียนบทที่ 1 ชื่อ Energy harvesting materials และเป็นผู้ร่วมเขียนบทที่ 5 ชื่อ Conversion enhancement for energy arvesting
ด้านการเรียนการสอน โครงการปรับพื้นฐานวิชาคณิตศาสตร์: การทดสอบวัดความรู้พื้นฐานวิชาคณิตศาสตร์เพื่อจัดเตรียมความพร้อมให้นักศึกษามีความรู้พร้อมที่จะเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 Counseling Unit : เป็นการดูแลนักศึกษาที่มีผลการเรียนต่ำกว่า 2.00 โดยจัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักศึกษาทั้งในด้านของการเรียนและพฤติกรรม การบันทึกVDO รายวิชาพื้นฐาน: พัฒนาสื่อเพื่อให้นักศึกษาเข้าถึงวิชาการได้อย่างหลากหลาย การสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งด้านวิทยาศาสตร์ ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย: จัดแหล่งเรียนรู้และวิทยากรพร้อมทั้งบรรยายและปฏิบัติการในสาขาวิชาฟิสิกส์ จุลชีววิทยา เคมี ชีววิทยา ชีวเคมี :โรงเรียนขรรค์ชัยกัมพลานนท์อนุสรณ์ โครงการ พสวท. ศูนย์โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ โครงการพี่เลี้ยงวิชาการ : ระบบดูแลนักศึกษาเพื่อเสริมความรู้ พื้นฐานและความพร้อมในการเรียน
ผลงานจัดการเรียนการสอนบริการวิทยาศาสตร์สุขภาพผลงานจัดการเรียนการสอนบริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ ผลการสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (NLE) ขั้นตอนที่ 1 สอบผ่าน 92.42% เป็นอันดับสอง รองจากคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ผลการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัด สอบผ่าน 100% คณะทันตแพทยศาสตร์ ผลการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพทันตกรรม กลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน สอบผ่าน 89% ผลการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพทันตกรรม กลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ภาคทฤษฎี) สอบผ่าน 98% คณะเภสัชศาสตร์ ผลการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม หลักสูตรเภสัชศาสตร์ สอบผ่าน 89% หลักสูตรการบริบาลทางเภสัชกรรม สอบผ่าน 94%
ด้านพัฒนานักศึกษา กิจกรรมวิชาการ :ค่ายวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนระดับประถมศึกษามีความรัก และอยากเรียนวิทยาศาสตร์ จัดทุกปี กิจกรรมสร้างความภาคภูมิใจ : ประชุมเชียร์รูปแบบใหม่ สอดแทรกความรู้หลากหลายรูปแบบ เช่น จัดกิจกรรมปรับตัวเข้าสู่สังคมพหุวัฒนธรรม รณรงค์ส่งเสริม ประชาธิปไตย ใช้ขนมไทยเป็นอาหารว่างทุกมื้อ ให้คำคมด้าน คุณธรรมจริยธรรมทุกวัน กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ : - ค่ายอาสาพัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อชนบท - กิจกรรมชุมนุมสัญจร ให้ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนในชนบท โดยชมรมในสังกัดสโมสรนักศึกษา ใช้เวลา 1-2 วัน
ด้านการพัฒนาบุคลากร การขับเคลื่อนสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ • จัดโครงการและกิจกรรมต่างๆ หลากหลายมิติ ดังนี้ • 1. จัดทำผังความคิดการจัดการความรู้โดยรวมของคณะวิทยาศาสตร์ • เพื่อเชื่อมโยงให้เห็นการจัดการความรู้ทั้งระดับคณะฯและระดับภาควิชา/หลักสูตร/หน่วยงานที่เข้าใจได้ (Model สำหรับการสื่อสาร) • กิจกรรมเสวนายามน้ำชา (Tea Talk) • แลกเปลี่ยนความรู้ในหัวข้อ/ประเด็นเร่งด่วน หรือความต้องการขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ • กิจกรรม Show & Share @ Science • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบสบาย สบาย แก่บุคลากรและนักศึกษา • จุลสารวิทยาสาร ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ • เพื่อการสื่อสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในคณะฯ
ชุมชนปฏิบัติ (CoP) สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาการดำเนินงานในทุกๆ ด้านอย่างต่อเนื่อง และให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในสิ่งที่มีความสนใจร่วมกันของกลุ่มบุคลากรภายในคณะฯ ทั้งระดับภาควิชา/หน่วยงาน • ชมรมและกิจกรรมสัมพันธ์ สร้างความรักและผูกพันระหว่างบุคลากรในองค์กร • โครงการฝึกอบรม/สัมมนา/กรรมการต่างๆ เพื่อพัฒนาบุคลากร • เวทีคุณภาพและนวัตกรรม ประกวดผลงานทั้งด้านพัฒนางานและนวัตกรรมของบุคลากร คัดเลือกแนวปฏิบัติที่ดีให้เป็นแบบอย่างแก่หน่วยงานอื่น • วิจัยสถาบันและวิจัยในชั้นเรียน สนับสนุนทุนวิจัยด้านนี้เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาหน่วยงานและองค์กร
การจัดสวัสดิการและสภาพแวดล้อมให้บุคลากรอยู่อย่างมีความสุขการจัดสวัสดิการและสภาพแวดล้อมให้บุคลากรอยู่อย่างมีความสุข • ด้านบุคลากรสัมพันธ์ • โครงการกีฬาวิทยาศาสตร์สัมพันธ์ • โครงการลานฟักทองเชื่อม • ชมรมต่าง ๆ • ด้านทำนุบำรุงศาสนาและสืบสานวัฒนธรรม • โครงการทำบุญเลี้ยงพระ (วันปีใหม่) • โครงการสรงน้ำพระพุทธรูปและรดน้ำรับพรวันสงกรานต์ • โครงการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา • ด้านสุขภาพ • - โครงการตรวจสุขภาพประจำปี • - การทำประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล • ด้านเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ • โครงการยินดีศรีวิทยา • กิจกรรมแสดงมุทิตาจิตแก่ผู้เกษียณอายุราชการ และโครงการสนับสนุนทัศนศึกษาต่างประเทศสำหรับผู้เกษียณอายุ • กิจกรรมขอบคุณผู้ได้รับเหรียญจากการแข่งขันกีฬา • โครงการบรรเทาทุกข์แก่บุคลากรผู้ประสบภัยพิบัติ
ผลงานเด่นของบุคลากร รางวัลระดับชาติ และนานาชาติ ผศ.ดร.สาระ บำรุงศรี ภาควิชาชีววิทยา ได้รับรางวัลThe Spallanzani Award 2010จากผลงานเรื่อง ค้างคาวเล็บกุดช่วยผสมเกสร ทุเรียนและสะตอ จาก North American Society for Bat Research Organization (NASBR) ผศ.ดร.สอาด ริยะจันทร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ - ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ - ได้รับรางวัล 2010 TRF-CHE-SCOPUS Young Research Award สาขา Agricultural Science and Technology จาก สกว.สกอ. และสำนักพิมพ์ Elsevier ศ.ดร.รพีพรรณ วิทิตสุวรรณกุล ภาควิชาชีวเคมี ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 10 ในสาขาวิชาชีวเคมี
รางวัลระดับมหาวิทยาลัยรางวัลระดับมหาวิทยาลัย รศ.ชนิตา พงษ์ลิมานนท์ ภาควิชาเคมี - ได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่น ด้านการเรียนการสอนคณะวิทยาศาสตร์ ประจำปี 2553” - ได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่าง ด้านการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี 2553 คุณเศียร บัวแก้ว ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ ได้รับรางวัลประเภทนวัตกรรม จากผลงาน เครื่องกวนผสมปรับระดับได้” จากเวทีสร้างสรรค์มุ่งมั่นนวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ ประจำปี 2554 คุณอรอุมา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และทีมงาน หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้รับรางวัลประเภทโครงการพัฒนางาน จากผลงาน ระบบนำเข้าข้อมูลเดินทางไปราชการ ในประเทศ จากเวทีสร้างสรรค์มุ่งมั่นนวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ ประจำปี 2554 รศ.ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา ภาควิชาเคมี ได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่างด้านการวิจัย และผลงานดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2553 :
รางวัล2011 PSU Researcher Grand Slam ให้กับนักวิจัยที่ได้รับมอบเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ ในงานวันนักวิจัยและนวัตกรรม ม.อ. 5 ปี ติดต่อกัน จำนวน 8 คน • นักวิจัยที่มีผลงานตีพิมพ์ได้รับการอ้างอิง (citation) สูงสุด 20 อันดับแรกจากฐานข้อมูล ISI ปี 2553 จำนวน 11 คน • นักวิจัยที่มีจำนวนผลงานตีพิมพ์สูงสุด 20 อันดับแรกจากฐานข้อมูล ISI ปี 2553 จำนวน 14 คน อื่นๆ • หน่วยวิจัยพลาสติกชีวภาพ ได้รับคัดเลือกเป็นหน่วยวิจัยดีเด่น ประจำปี 2553 • การได้รับเชิญเป็นบรรณาธิการในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ปี 2553 จำนวน 2 คน นอกจากนี้ บุคลากรของคณะฯ ยังได้รับรางวัลในการนำเสนอผลงานทั้งในระดับชาติและนานาชาติอีกจำนวนมาก
ผลการจัดลำดับคุณภาพทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สาขาวิชาเคมี ได้รับการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับ 5 (มาตรฐานเทียบเท่าระดับนานาชาติ) สาขาวิชาฟิสิกส์ ได้รับการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับ 4 (มาตรฐานเทียบเท่าระดับชาติ) สาขาวิชาชีววิทยา ได้รับการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับ 4 (มาตรฐานเทียบเท่าระดับชาติ) สาขาวิชาจุลชีววิทยา ได้รับการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับ 4 (มาตรฐานเทียบเท่าระดับชาติ) ในภาพรวม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการจัดลำดับคุณภาพทางวิชาการอยู่ในลำดับ 4 ของประเทศ
ด้านการบริการวิชาการ • 1. การให้บริการวิเคราะห์/ตรวจสอบ/ทดสอบ • - หน่วยเครื่องมือกลางได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005 • - หน่วยเครื่องมือกลางได้รับการคัดเลือกเป็นหน่วยงานที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ • 2. การให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ภาครัฐ และเอกชน • - งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ • - พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุมารี • - ให้บริการสัตว์ทดลอง โดยสถานสัตว์ทดลองภาคใต้ • - สำรวจรวบรวมข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่ภาคใต้ตอนบนให้แก่กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • - จัดกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ เพื่อสำรวจความต้องการและรับฟังปัญหา และนำมาหาแนวทางให้ความ ช่วยเหลือในเชิงบริการวิชาการ โดยในระยะแรกได้ดำเนินการให้กับ 2 ชุมชน คือ เกาะบุโหลน จังหวัดสตูล และชุมชนคลองแห อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
3. บริการชุมชนในภาวะประสบภัยพิบัติ - ผลิตน้ำดื่มช่วยเหลือแก่ผู้ประสบอุทกภัย ประมาณ 100,000 ขวด 4. จัดตั้งหน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประดิษฐ์คิดค้น และแนวทางการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา และสิทธิต่างๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาแก่คณาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรของมหาวิทยาลัย สนับสนุนให้มีการขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรและ นำผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์เพิ่มขึ้น • (สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร จำนวน 3 เรื่อง และลิขสิทธิ์ จำนวน 2 เรื่อง)
ด้านการบริหารจัดการ การพัฒนาระบบสารสนเทศและสภาพแวดล้อมเพื่อการบริหารจัดการ การพัฒนาระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การพัฒนาระบบฐานข้อมูล • ระบบฐานข้อมูลด้านวิจัย • ระบบฐานข้อมูลบัณฑิตศึกษา • ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศบุคลากร • ระบบฐานข้อมูลรายวิชา • ระบบฐานข้อมูลงบประมาณ • ระบบฐานข้อมูลพัสดุและระบบบาร์โค้ด • ระบบเอกสารเวียนมติ • ระบบ e-meeting การพัฒนาโรงพิมพ์ดิจิตอล การปรับปรุงภูมิทัศน์และการรักษาความปลอดภัย
การพัฒนาระบบคุณภาพ • 1. พัฒนาระบบการรวบรวมข้อมูล เพื่อการประกันคุณภาพและบริหารจัดการ • 2. พัฒนาระบบประกันคุณภาพด้านการจัดการเรียนการสอน • 3. พัฒนาช่องทางให้นักศึกษาและบุคลากรแสดงความคิดเห็น • พัฒนาระบบนำเข้าข้อมูลด้านการเดินทางไปราชการในประเทศ • พัฒนาระบบรวบรวมข้อมูลและหลักฐานในตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ • พัฒนาระบบแสดงข้อมูลเชิงปริมาณผ่าน website พัฒนาระบบประเมินอาจารย์และระบบประเมินรายวิชา • แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี • แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา • แบบสอบถามความพึงพอใจของบุคลากร
สรุปผลการประเมินตนเองตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินของ สกอ. สมศ. และ ก.พ.ร.
2.ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินของ สมศ. (ไม่ประเมินตัวบ่งชี้ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม)
2.ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินของ กพร. และนโยบาย 3ดี * ไม่ประเมินตัวบ่งด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม