1 / 9

คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรม การทดสอบแล้วเสร็จภายในมิถุนายน 2552

คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรม การทดสอบแล้วเสร็จภายในมิถุนายน 2552. ควรทดสอบร่วมกันโดยคณะ ผู้แทนศูนย์อนามัย สคร. เขต สช ภาค ฝ่ายต่างๆของ สสจ. ผู้แทนจาก สสอ. และ ท้องถิ่น/ตำบลที่จะทำการทดสอบนี้ ตามที่คัดเลือกไว้แล้วหรือเลือกใหม่ ควรจัดประชุมที่ สนง.สสจ. โดยถือเป็นงานปกติ

skah
Download Presentation

คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรม การทดสอบแล้วเสร็จภายในมิถุนายน 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรมการทดสอบแล้วเสร็จภายในมิถุนายน 2552 • ควรทดสอบร่วมกันโดยคณะ ผู้แทนศูนย์อนามัย สคร. เขต สช ภาค ฝ่ายต่างๆของ สสจ. ผู้แทนจาก สสอ. และ ท้องถิ่น/ตำบลที่จะทำการทดสอบนี้ ตามที่คัดเลือกไว้แล้วหรือเลือกใหม่ ควรจัดประชุมที่ สนง.สสจ. โดยถือเป็นงานปกติ • ควรเชิญ สสจ.เป็นประธานเปิดประชุม และสื่อสารกับท่านตั้งแต่ต้นและตลอดการทำงาน • เนื่องจากผู้แทนมีมาจากทุกระดับ ผลงานที่ได้จะสามารถนำไปทดลองใช้ที่ท้องถิ่น/ตำบลได้เลย เป็นการย่นระยะเวลาทำงาน โดยไม่ต้องไม่ต้องทำซ้ำที่อำเภอ ตำบลอีก • ถ้าจังหวัดมีจุดหมายปลายทางและ SLM รวมทั้งกลยุทธ์สำคัญอยู่แล้ว ให้ปรับของจังหวัดให้สอดคล้องกับของกรม/เขตฯ แล้วใช้ของจังหวัดเป็นหลักในขั้นตอนต่อไป เช่นเดียวกับกลยุทธ์สำคัญ • เริ่มโดยกำหนดประเด็นที่จะใช้แผนที่ฯ ประเด็นดังกล่าวอาจจะเลือกจากงานที่เป็นนโยบายของกรมอนามัยหรือกรมควบคุมโรคก็ได้ เช่น “เรื่องเบาหวาน ความดัน” หรืออื่นๆ การทำงานครั้งนี้จะทำเพียงประเด็นเดียว • นิยามกล่องบนสุด (ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)ให้ชัดเจน โดยพิจารณาว่า ตามประเด็นที่กำหนดนั้น “ประชาชน” หมายถึงใคร (กลุ่มต่างๆที่นิยามไว้ในเรื่องเบาหวาน ความดัน) และ “พฤติกรรม” ที่ต้องการให้กลุ่มต่างๆประพฤติคืออะไร ความขัดเจนตรงนี้จะช่วยให้การนิยามตาราง 11 ช่องทำได้ง่ายและถูกต้องขึ้น

  2. คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรม(ต่อ) 7. กำหนดเส้นทาง Road Map คือเส้นทางที่สะดวกที่สุดจากกล่องตั้งต้นด้านล่าง ไปถึงกล่องปลายทางบนสุด (ดูตัวอย่างจากภาพชุดนี้ ) 8. ต่อไป สร้างตาราง 11 ช่อง และแผนปฏิบัติการ ตารางนี้ควรสร้างได้ครบทุกช่องเนื่องจากมีผู้แทนมาจากทุกระดับ เป็นงานหลักสำหรับการประชุม แต่ให้สร้างเฉพาะกล่องที่กำหนดโดย Road Map เท่านั้นในระยะแรกนี้ 9. สำหรับกลยุทธ์และกิจกรรมสำคัญที่มาจากกรมฯเป็นเพียงรูปแบบทั่วไปที่ให้ไว้เป็นแนวทางเท่านั้น กลุ่มควรพิจารณาทบทวนให้เหมาะสมกับบริบทก่อนใช้ 10. แยก 2 กลุ่มตามลักษณะผู้เข้าประชุม (กลุ่มที่มาจากตำบล/ท้องถิ่น และกลุ่มจากจังหวัด/อำเภอรวมกัน) กลุ่มที่มาจากจังหวัดเป็นกลุ่มหลักที่จะพิจารณามาตรการทางวิชาการในตาราง 11 ช่องส่วนกลุ่มท้องถิ่น/ตำบลจะเป็นกลุ่มหลักที่พิจารณามาตรการทางสังคม 11. กลุ่มจังหวัดสามารถพิจารณางานระดับประชาชนได้ ถึงแม้ว่าระดับนี้ งานส่วนใหญ่จะมาจากมาตรการทางสังคม แต่มาตรการดังกล่าวต้องมีพื้นฐานทางวิชาการ ดังนั้น ฝ่ายวิชาการต้องกำหนดมาตรฐานของงานของประชาชนไว้ในช่อง 4 ของตารางฯด้วย ส่วน KPI ระดับประชาชนได้จากมาตรการทางสังคม 12. ฝ่ายวิชาการทุกฝ่าย รวมทั้งสุขภาพจิต อย.ที่ สนง. สสจ. ควรมีส่วนนิยามตาราง 11 ช่องเพื่อความสมบูรณ์ทุกแง่มุมของประเด็นที่พิจารณานั้น

  3. คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรม(ต่อ) 13. เมื่อทุกกลุ่มทำงานเสร็จ ให้นำผลมาสรุปรวมเป็นงานชิ้นเดียวกัน นำเสนอ สสจ.อนุมัติ • ต่อไป สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) โดยนำกิจกรรมสำคัญ (กลุ่มจังหวัดเป็นผู้เลือกจากตาราง 11 ช่อง)มาแทนที่กล่องเป้าประสงค์ใน SLM เสริมด้วยกิจกรรมอื่นๆที่เห็นว่าจำเป็นที่จะช่วยให้ทำงานสำเร็จดีขึ้น แล้วจัดรูปแบบของแผนปฏิบัติการให้ดูง่าย (ดูตัวอย่าง) • กำหนด Milestone โดยระบุวันที่ที่กิจกรรมกล่องใดกล่องหนึ่งจะแล้วเสร็จ ให้พิจารณาได้จากช่องที่แสดงระยะเวลาของงานในตาราง 11 ช่อง กล่องที่เป็นกิจกรรมเสริมไม่ต้องกำหนด Milestone • ในการกำหนดงานของช่อง 4 หรือ 5 อาจพบว่าต้องการงานที่มาจากกล่องอื่นที่ไม่ได้กำหนดไว้โดย Road Map ก็ได้ เช่น งานด้านการสื่อสาร ก็ให้กำหนดได้ตามที่เห็นสมควร หมายความว่า งานสื่อสารมีน้ำหนักเป็นเพียงส่วนหนึ่งของกิจกรรม แต่ไม่ถึงขั้นเป็นวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ • เมื่อถึงระยะต่อไป หากประชาชนเริ่มปรับพฤติกรรมแล้ว ให้ตั้งต้นวางงานของกล่องอื่นๆให้เต็มทั้งแผนที่ SLM ทั้งนี้ เพื่อประกันความล้มเหลวในภายหลัง • ในระหว่างปฏิบัติงาน ให้ผู้ปฏิบัติติดตามดูความสำเร็จตามตัวชี้วัด หากส่อเค้าว่ากิจกรรมใดจะไม่ได้ผล ให้เปลี่ยนงานของกิจกรรมนั้น หรือเปลี่ยนกิจกรรมใหม่

  4. ผังจุดหมายปลายทางกระบวนการทำงานร่วมระหว่างองค์กรในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (บูรณาการระหว่างกรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค) ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) (ภายใต้แนวคิดการเชื่อมประสานองค์กรภาคีเครือข่ายทุกระดับเพื่อการพัฒนาสุขภาพของประชาชนในชุมชนท้องถิ่น) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552

  5. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วม ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค สร้างเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2552 1 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพและเป็นจริง พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

  6. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค แสดงเส้นทาง Road Map (เส้นสีแดง)สำหรับงานระยะแรก 2 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

  7. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค แสดงกลยุทธ์สำคัญ (*) และกิจกรรมสำคัญ (-) 3 *จัดเวทีสมัชชาสุขภาพ - กำหนดมาตรการทางสังคมอย่างมีส่วนร่วม *พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนชุมชน -ประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนฯ ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ *พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตาม... -สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน เส้นสีแดงคือ Road Map • * สนับสนุนการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร • จัดทำข้อตกลงร่วม อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง *ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทเครือข่ายองค์กรชุมชน -สร้างเครือข่าย ทำข้อตกลงร่วมสื่อสารต่อเนื่อง *ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน/โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน -จัดเวทีประชาคม *สนับสนุนให้มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ -สร้างกระบวนการติดตามและ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ * สนับสนุนส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม - สร้างนวัตกรรมกระบวนการร่วมกับภาคี -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ *พัฒนาระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ -จัดเวทีสานเสวนาสื่อมวลชน *สร้างเสริมทักษะการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) - สอนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) การสร้างตาราง11ช่อง และการสร้างแผนปฏิบัติการ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อ การทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน *พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัยเป็นจริง -สร้างกระบวนการจัดการข้อมูล บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม *สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีม -สร้างจริยธรรมการทำงานร่วมกัน

  8. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วมของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค แสดงกลยุทธ์และกิจกรรมสำคัญเฉพาะส่วนที่กำหนดโดย Road Map 4 *จัดเวทีสมัชชาสุขภาพ - กำหนดมาตรการทางสังคมอย่างมีส่วนร่วม ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม *พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตาม... -สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ • * สนับสนุนการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร • จัดทำข้อตกลงร่วม อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง *ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน/โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน -จัดเวทีประชาคม *สนับสนุนให้มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ -สร้างกระบวนการติดตามและ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน *สร้างเสริมทักษะการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) - สอนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) การสร้างตาราง11ช่อง และการสร้างแผนปฏิบัติการ บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม พื้นฐาน

  9. (ตัวอย่าง)แผนปฏิบัติการ สร้างจาก SLM เฉพาะส่วนที่กำหนดโดย Road Map สำหรับระยะที่ 1 ของการปฏิบัติการตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แสดงกิจกรรมสำคัญที่จะทำ (สีขาว) พร้อมงาน (สีเหลือง) และ Milestone (สีเขียว) ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามประเด็นที่กำหนดโดย SLM Milestone 4 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ Milestone 5 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ สร้างมาตรการทางสังคม *พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตาม... -สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน -ฝึกอบรม Milestone 3 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ -จัดเวทีสมัชชาสุขภาพ -นำเสนอผู้บริหาร -ประกาศใช้ จัดเวทีประชาคม งานสำคัญ กำหนดโดยผู้ปฏิบัติ -ทำแผนงานโครงการร่วมกับท้องถิ่น หรือปรับแผนงานโครงการเดิมที่มีอยู่แล้ว เตรียมการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร หรือปรับแผนตำบลเดิม(สธ/ท้องถิ่นร่วมกัน) กิจกรรมเสริม -สร้างแผนปฏิบัติการตามประเด็น -วางตัวผู้รับผิดชอบ Milestone 2 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ สร้างกระบวนการติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง -สอนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ อย่างสังเขปสำหรับอำเภอ ตำบล -กำหนดประเด็น ปรับ SLM ร่วม 2 กรม สร้างตาราง 11 ช่อง สร้างเสริมทักษะการถ่ายระดับแผนที่ยุทธศาสตร์ SLM ให้ผู้เกี่ยวข้องระดับอำเภอ/ตำบล Milestone 1 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ

More Related