1 / 62

การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาสมรรถะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาสมรรถะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552. สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. สมชาติ ก้องนภาสันติกุล. วัตถุประสงค์. เพื่อทบทวนความเข้าใจกับระบบบริหารสมรรถนะ เพื่อทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาสมรรถะประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552. หัวข้อบรรยาย. กระบวนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร

eliot
Download Presentation

การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาสมรรถะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาสมรรถะประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา สมชาติ ก้องนภาสันติกุล

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อทบทวนความเข้าใจกับระบบบริหารสมรรถนะ • เพื่อทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาสมรรถะประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552

  3. หัวข้อบรรยาย • กระบวนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร • การนำสมรรถนะมาใช้ในการบริหารงานบุคคล • แนวคิดและความหมายของสมรรถนะ • ประเภท และองค์ประกอบของสมรรถนะ • การจัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะบุคลากร

  4. กระบวนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรกระบวนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร

  5. กระบวนการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลกระบวนการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) การประเมินสถานภาพ การบริหารทรัพยากรบุคคล การติดตามและประเมินผล การวางแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล การนำแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคลไปปฏิบัติ

  6. กรอบมาตรฐานความสำเร็จด้าน HR ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ ประสิทธิภาพของ การบริหาร ทรัพยากรบุคคล ความพร้อมรับผิดด้าน การบริหารทรัพยากรบุคคล มาตรฐาน ความสำเร็จ ประสิทธิผลของ การบริหาร ทรัพยากรบุคคล คุณภาพชีวิต: ความสมดุลระหว่างชีวิต และการทำงาน

  7. 2. พัฒนาต่อเนื่องให้มีองค์ความรู้/ จริยธรรม/จรรยาบรรณ 3. สนับสนุนการพัฒนาตัวเอง/สร้าง career 1. กำหนดสมรรถนะ 4. สับเปลี่ยน หมุนเวียนหน้าที่ 11. มีระบบประเมินผลงาน/ ตอบแทน 5. มอบอำนาจ/กระจายอำนาจ 10. พัฒนาการใช้เทคโนโลยี/อุปกรณ์ต่างๆ 6. สร้างแรงจูงใจ 9. พัฒนาสภาพแวดล้อม/ คุณภาพชีวิต 7. พัฒนาระบบงาน 8. พัฒนาศูนย์ความรู้ แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลภาครัฐ

  8. ความสัมพันธ์ระหว่าง กลยุทธ์ขององค์กร และ Competency ผลการปฏิบัติงานโดยรวมเป็นไปตามเป้าประสงค์ที่กำหนด เป้าประสงค์ทางกลยุทธ์ บุคลากรมี Competency ที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานที่ต้องปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าประสงค์ทางกลยุทธ์ แปลงกลยุทธ์สู่งาน Competency ที่ต้องการสำหรับปฏิบัติงาน แปลงงานสู่ Competency

  9. การนำสมรรถนะมาใช้ในการบริหารงานบุคคลการนำสมรรถนะมาใช้ในการบริหารงานบุคคล

  10. การนำสมรรถนะมาใช้ในการบริหารงานบุคคลการนำสมรรถนะมาใช้ในการบริหารงานบุคคล Recruitment / Selection Compensation Training Performance management Competency Development Rotation Career Path Promotion

  11. การนำสมรรถนะไปใช้ในการสรรหาและเลือกสรรการนำสมรรถนะไปใช้ในการสรรหาและเลือกสรร งาน (Job) หน้าที่ รับผิดชอบในงาน คุณสมบัติของ ผู้ดำรงตำแหน่ง (ความรู้ ทักษะ/ความสามารถ คุณลักษณะ และสมรรถนะ คนที่เหมาะสม (Right Person) มีคุณสมบัติที่ เหมาะสม กับตำแหน่ง แนวคิดเกี่ยวกับการคัดเลือกบุคลากร Put the right person to the right job

  12. องค์ความรู้ และ ทักษะต่างๆ บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (Social Role) ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image) อุปนิสัย (Traits) แรงผลักดันเบื้องลึก (Motives) การคัดเลือกแบบอิงสมรรถนะ - การทดสอบความสามารถทั่วไป - การทดสอบความสามารถเฉพาะ ตำแหน่ง - การทดสอบ/ประเมินทักษะต่าง ๆ - การสัมภาษณ์มุ่งค้นหาพฤติกรรม - แบบประเมินบุคลิกภาพ • การทดสอบด้วยสถานการณ์จำลอง -แบบประเมินชีวประวัติ

  13. การนำสมรรถนะไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานการนำสมรรถนะไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยทั่วไปแล้ว “ผลงาน” ประกอบด้วยลักษณะสำคัญ 2 ประการ ได้แก่(1) เป้าประสงค์ในเชิงปริมาณหรือตัวเลข (Quantitative Targets) และ (2) เป้าประสงค์ในเชิงคุณภาพหรือพฤติกรรม (Competency) เป้าประสงค์ในเชิง คุณภาพ/พฤติกรรมที่ จำเป็นในการปฏิบัติงาน เป้าประสงค์ในเชิงปริมาณ How Competencies What มุ่งเน้นการพัฒนา ศักยภาพและผลในระยะยาว มุ่งเน้นผลระยะสั้น MBO

  14. แนวคิดและความหมายของสมรรถนะแนวคิดและความหมายของสมรรถนะ

  15. “ทฤษฎีภูเขาน้ำแข็ง”(The Iceberg Model Of Competencies) ข้อมูลความรู้ที่บุคคลมีในสาขาต่างๆ ความเชี่ยวชาญ ชำนาญพิเศษในด้านต่างๆ องค์ความรู้ และ ทักษะต่างๆ ความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับเอกลักษณ์และคุณค่า ของตน บทบาทที่บุคคลแสดงออกต่อผู้อื่น บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (Social Role) ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image) อุปนิสัย (Traits) แรงผลักดันเบื้องลึก (Motives) จินตนาการ แนวโน้ม วิธีคิด วิธีปฏิบัติตน อันเป็นไปโดยธรรมชาติของบุคคล ความเคยชิน พฤติกรรมซ้ำๆ ในรูปแบบใด รูปแบบหนึ่ง

  16. ความหมายของ COMPETENCY ศักยภาพของบุคคลที่ประกอบด้วยกลุ่มของพฤติกรรม (KSAO : Knowledge , Skill , Ability , Other Characteristics) ที่แสดงถึงความสามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติงานให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของงานนั้นๆ

  17. คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ทำให้บุคคลสร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์การ ความหมายของสมรรถนะ ตาม ก.พ.

  18. ประเภทและองค์ประกอบของสมรรถนะประเภทและองค์ประกอบของสมรรถนะ

  19. ประเภทของสมรรถนะ • สมรรถนะหลัก / Core Competency • สมรรถนะในงาน /Functional Competency • สมรรถนะร่วม /Common Functional Competency • สมรรถนะเฉพาะรายกลุ่มงาน /Specific Functional Competency

  20. สมรรถนะหลัก / Core Competency คุณลักษณะร่วมของข้าราชการพลเรือนไทยทั้งระบบ เพื่อหล่อหลอมค่านิยม และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ร่วมกัน

  21. สมรรถนะหลัก / Core Competency สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Ahievement motivation) 2. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) 3. ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork) 4. จริยธรรม (Integrity) 5. การบริการที่ดี (Service Mind)

  22. สมรรถนะในงาน / Functional Competency สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับแต่ละงาน เพื่อสนับสนุนให้ข้าราชการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมแก่หน้าที่ และส่งเสริมให้สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น

  23. สมรรถนะประจำกลุ่มงาน • การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) • การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) • การพัฒนาศักยภาพคน (Caring & Developing Others) • การสั่งการตามอำนาจหน้าที่ (Holding People Accountable) • การสืบเสาะหาข้อมูล (Information Seeking) • ความเข้าใจข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity) • ความเข้าใจผู้อื่น (Interpersonal Understanding) • ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ (Organizational Awareness) • การดำเนินการเชิงรุก (Proactiveness) • ความถูกต้องของงาน (Concern for Order)

  24. สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (ต่อ) • ความมั่นใจในตนเอง (Self Confidence) • ความยืดหยุ่นผ่อนปรน (Flexibility) • ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication & Influencing) • สภาวะผู้นำ (Leadership) • สุนทรียภาพทางศิลปะ (Aesthetic Quality) • วิสัยทัศน์ (Visioning) • การวางกลยุทธ์ภาครัฐ (Strategic Orientation) • ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน (Change Leadership) • การควบคุมตนเอง (Self Control) • การให้อำนาจแก่ผู้อื่น (Empowering Others)

  25. องค์ประกอบของ Competency • ความสามารถในการลงมือทำ ด้วยตนเอง ดูจาก • ระดับความซับซ้อน • ระดับการควบคุม • ระดับการตัดสินใจ • ระดับความสม่ำเสมอ Skill • แบบแผนการแสดงออก (สไตล์/ลีลา) • ค่านิยม • แนวโน้มการแสดงออก • แรงจูงใจ • ความสามารถในการอธิบายได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน • รู้ความหมาย • รู้ขั้นตอน • รู้ประยุกต์ใช้ Competency Knowledge Attribute

  26. องค์ประกอบของระบบสมรรถนะองค์ประกอบของระบบสมรรถนะ ประเภทของสมรรถนะ(Competency Categories) ชื่อและคำจำกัดความ(Competency Names and Definitions) ฐานข้อมูลสมรรถนะขององค์กร (Competency Basket) ตัวชี้วัดเชิงพฤติกรรม(Behavioral Indicators) ระดับของสมรรถนะ(Proficiency Scale)

  27. องค์ประกอบของระบบสมรรถนะองค์ประกอบของระบบสมรรถนะ ฐานข้อมูลสมรรถนะขององค์กร (Competency Basket) ฐานข้อมูลสมรรถนะขององค์กร (Competency Basket) หมายถึง ฐานข้อมูลที่เก็บรวมรวมสมรรถนะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานใน ตำแหน่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั้งหมดภายในองค์กร สมรรถนะแต่ละตัวจะได้รับการ ออกแบบตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละตำแหน่งงาน/กลุ่ม งานเพื่อให้บุคคลสามารถปฏิบัติงานได้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ที่องค์กรกำหนดไว้

  28. องค์ประกอบของระบบสมรรถนะองค์ประกอบของระบบสมรรถนะ ประเภทของสมรรถนะ(Competency Categories) ประเภทของสมรรถนะ (Competency Categories) หมายถึง การ จำแนก รวบรวมสมรรถนะออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ เช่น สมรรถนะหลัก สมรรถนะตามสายวิชาชีพ สมรรถร่วมของกลุ่มงาน/สายวิชาชีพ สมรรถนะเฉพาะทาง และสมรรถนะด้านการบริหารจัดการ เป็นต้น

  29. องค์ประกอบของระบบสมรรถนะองค์ประกอบของระบบสมรรถนะ ชื่อและคำจำกัดความ(Competency Names and Definitions) ชื่อของสมรรถนะ (Competency Name) เป็นการกำหนดหรือตั้งชื่อสมรรถนะแต่ละตัวให้ชัดเจน ชี้บ่งความ แตกต่างกับ สมรรถนะตัวอื่น ๆ ซึ่งจะทำให้บุคลากรในองค์กรเข้าใจตรงกัน คำจำกัดความของสมรรถนะ (Competency Definition) เป็นการให้ความหมายของสมรรถนะตัวนั้น ๆ ว่าหมายถึงอะไร มีขอบเขตมากน้อย เพียงใด การให้คำจำกัดความเพื่อให้บุคลากรในองค์กรเข้าใจตรงกันว่าหมายถึง อะไร ซึ่งคำจำกัดความของสมรรถนะนั้นในแต่ละองค์กรอาจมีการใช้ภาษาและการ ให้ความหมายที่แตกต่างกันก็ได้

  30. องค์ประกอบของระบบสมรรถนะองค์ประกอบของระบบสมรรถนะ ระดับของสมรรถนะ (Proficiency Scale) เป็นการกำหนดระดับทักษะ ความรู้ ความสามารถของสมรรถนะ การกำหนดระดับความสามารถของสมรรถนะนั้นมีหลายประเภทแตกต่างกันไปตามลักษณะและความเหมาะสมของสมรรถนะ สมรรถนะขององค์กรแต่ละตัวอาจมีระดับที่แตกต่างกันหรือไม่เหมือนกันก็ได้ทั้งนี้ชึ้นอยู่กับเนื้อหา (Content) ของสมรรถนะตัวนั้น ๆ ระดับของสมรรถนะ(Proficiency Scale)

  31. องค์ประกอบสมรรถนะ มี 4 ส่วน • ชื่อสมรรถนะ • คำจำกัดความ/นิยาม • ระดับความชำนาญ • Key behaviour / ตัวชี้วัดความรู้ ทักษะ และพฤติกรรม

  32. องค์ประกอบของ Competency แต่ละเรื่อง Proficiency level ชื่อสมรรถนะ :......................................................................... คำจำกัดความ : ........................................................................... โดยสรุปแล้ว สามารถทำอะไรได้ ขยายความและต้องทำได้ครบ จึงจะถือว่า บรรลุระดับความชำนาญการนี้

  33. วิธีการแปลสมรรถนะแต่ละระดับวิธีการแปลสมรรถนะแต่ละระดับ ระดับที่ 1 Basic Level หมายถึง ความสามารถระดับเบื้องต้น ระดับที่ 2 Doing Level หมายถึง สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ ที่มีขอบเขตจำกัด ระดับที่ 3 Developing Level หมายถึง ระดับความชำนาญในการปฏิบัติ สามารถสอนผู้อื่นได้ ปรับปรุงแก้ไขได้

  34. วิธีการแปลสมรรถนะแต่ละระดับวิธีการแปลสมรรถนะแต่ละระดับ ระดับที่ 4 Advanced Level หมายถึง มีความเชี่ยวชาญ สามารถจัดการ วางแผนดำเนินการ เลือกสถานการณ์ที่เหมาะสม แก้ปัญหาได้ ระดับที่ 5 Expert level หมายถึง มีความเชี่ยวชาญพิเศษ สามารถอำนวยการ ออกแบบ มอบหมาย บริหารจัดการได้ทั้งระบบ

  35. ตัวอย่าง ชื่อสมรรถนะ คำจำกัดความ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation-ACH) ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติราชการให้ดีหรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้อาจเป็นผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของตนเอง หรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น อีกทั้งยังหมายรวมถึงการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทายชนิดที่อาจไม่เคยมีผู้ใดสามารถกระทำได้มาก่อน การมุ่งผลสัมฤทธิ์

  36. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation-ACH) ตัวอย่าง ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน ระดับที่ 1: แสดงความพยายามในการทำงานให้ดี • พยายามทำงานในหน้าที่ให้ดีและถูกต้อง • มีความมานะอดทน ขยันหมั่นเพียรในการทำงาน และตรงต่อเวลา • มีความรับผิดชอบในงาน สามารถส่งงานได้ตามกำหนดเวลา • แสดงออกว่าต้องการทำงานให้ได้ดีขึ้น เช่น ถามถึงวิธีการ หรือขอแนะนำอย่างกระตือรือร้น สนใจใคร่รู้ • แสดงความเห็นในเชิงปรับปรุงพัฒนาเมื่อเห็นสิ่งที่ก่อให้เกิดการสูญเปล่า หรือหย่อนประสิทธิภาพในงาน ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และสามารถทำงานได้ผลงานตามเป้าหมายที่วางไว้ • กำหนดมาตรฐาน หรือเป้าหมายในการทำงานเพื่อให้ได้ผลงานที่ดี • หมั่นติดตามผลงาน และประเมินผลงานของตน โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึ้น โดยไม่ได้ถูกบังคับ เช่น ถามว่าผลงานดีหรือยัง หรือต้องปรับปรุงอะไรจึงจะดีขึ้น • ทำงานได้ตามผลงานตามเป้าหมายที่ผู้บังคับบัญชากำหนด หรือเป้าหมายของหน่วยงานที่รับผิดชอบ • มีความละเอียดรอบคอบเอาใจใส่ ตรวจตราความถูกต้องของงาน เพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพ ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถทำงานได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น • ปรับปรุงวิธีการที่ทำให้ทำงานได้ดีขึ้น เร็วขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น หรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น • เสนอหรือทดลองวิธีการทำงานแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม เพื่อให้ได้ผลงานตามที่กำหนดไว้ ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และสามารถพัฒนาวิธีการทำงาน เพื่อให้ได้ผลงานที่โดดเด่น และแตกต่างอย่างไม่เคยมีใครทำได้มาก่อน • กำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย และเป็นไปได้ยาก เพื่อทำให้ได้ผลงานที่ดีกว่าเดิมอย่างเห็นได้ชัด • ทำการพัฒนาระบบ ขั้นตอน วิธีการทำงาน เพื่อให้ได้ผลงานที่โดดเด่น และแตกต่างไม่เคยมีใครทำได้มาก่อน ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสามารถตัดสินใจได้ แม้จะมีความเสี่ยง เพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย • ตัดสินใจได้ โดยมีการคำนวณผลได้ผลเสียอย่างชัดเจน และดำเนินการ เพื่อให้ภาครัฐและประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด • บริหารจัดการและทุ่มเทเวลา ตลอดจนทรัพยากร เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดต่อภารกิจของหน่วยงานตามที่วางแผนไว้

  37. ในกรณีที่องค์กรยังไม่มีความพร้อมมากนักในกรณีที่องค์กรยังไม่มีความพร้อมมากนัก ในช่วงเริ่มต้นอาจจะไม่จำเป็น จะต้องกำหนดระดับของ Competency ตามตำแหน่งงานก็ได้ การกำหนด Competency ตามตำแหน่งงาน ( Job Competency Profile) คือ การกำหนด กลุ่มของทักษะ ความรู้ ความสามารถ รวมทั้ง พฤติกรรม ทัศนคติที่บุคลากรจำเป็นต้องมีเพื่อปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร ตัวอย่างการกำหนด Competency (Proficiency Level) ที่ต้องการของแต่ละตำแหน่ง Competency Competency ที่ต้องการในแต่ละตำแหน่ง ตำแหน่งงาน • สามารถนำ Competency Profile นี้ไปใช้ประโยชน์ในเรื่องของ • การวางแผนความก้าวหน้าทางสายอาชีพ • การวางแผนการฝึกอบรม

  38. การจัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะบุคลากรการจัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะบุคลากร

  39. การจัดทำแผนการฝึกอบรมการจัดทำแผนการฝึกอบรม คือ การสร้างแผนการฝึกอบรมในแต่ละระดับของตำแหน่งงานให้สอดคล้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบ และคุณลักษณะของบุคลากรที่จำเป็นในการนำไปปฏิบัติ

  40. วัตถุประสงค์  เพื่อสร้างแนวทางที่ชัดเจนและมีความต่อเนื่องในการพัฒนาข้าราชการให้มีความสามารถที่จะปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผลักดันให้ส่วนราชการ/จังหวัดมีผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

  41. สิ่งที่ต้องมีเบื้องต้นสิ่งที่ต้องมีเบื้องต้น Competency ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งงาน หรือหน่วยงาน (Job Competency Profile/ Model)  ข้อมูลของหลักสูตรการฝึกอบรมต่างๆ

  42. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการพัฒนาแนวทางนี้ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการพัฒนาแนวทางนี้  สามารถพัฒนาการฝึกอบรมให้กับข้าราชการอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ในระดับเริ่มต้นทำงานไปจนถึงระดับผู้บริหาร  สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดทำงบประมาณในแต่ละปี เนื่องจากมีแผนงานที่ชัดเจนอยู่แล้วว่าในแต่ละปีจะต้องมีหลักสูตรในการพัฒนาอะไรบ้าง

  43. ข้อพึงระวัง/ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น  จะต้องมีการทบทวนแผนการฝึกอบรมที่ได้จัดทำไปแล้วอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจว่าแผนการฝึกอบรมยังทันสมัยและตรงกับความต้องการของผู้เข้ารับการฝึกอบรม  ควรนำผลของการประเมินหลักสูตรมาเป็นหลักในการพิจารณาในการปรับปรุงหลักสูตรด้วย  จะต้องสร้างให้ผู้ที่ต้องเข้ารับการฝึกอบรมเห็นความสำคัญของการฝึกอบรมและมีความต้องการที่จะเข้าร่วมในการฝึกอบรมด้วยตนเอง

  44. ขั้นตอนในการดำเนินงานขั้นตอนในการดำเนินงาน ทบทวนและศึกษา Competency Profile  ทำการทบทวนและศึกษาภารกิจหลักและ Competency Profile ของส่วนราชการ/จังหวัด

  45. จัดกลุ่มหลักสูตร ที่สอดคล้องกับ Competency Profile  จัดกลุ่มหลักสูตรที่สอดคล้องกับ Competency ที่ต้องการของหน่วยงานและของตำแหน่งงานโดย Competency ตัวหนึ่งอาจจะมีหลักสูตรที่สอดคล้องได้ 3-4 หลักสูตร  ในกรณีที่ Competency ที่จำเป็นของแต่ละตำแหน่งงานเป็นตัวเดียวกัน จะต้องพิจารณาถึงระดับ (Proficiency Level) ของ Competency ที่ต้องการของตำแหน่งงานในแต่ละระดับด้วย

  46. คัดเลือกหลักสูตรและ วิธีการฝึกอบรม  คัดเลือกหลักสูตรที่คิดว่าเหมาะสมที่สุดสำหรับหน่วยงานและตำแหน่งงาน โดยต้องพิจารณาถึงหน้าที่ความรับผิดชอบด้วย  พิจารณาว่าวิธีการฝึกอบรมแบบใดที่เหมาะสมกับงบประมาณและสถานการณ์ของหน่วยงานมากที่สุด ซึ่งวิธีการฝึกอบรม อาจหมายถึงการใช้วิทยากรมาสอนโดยตรง การอบรมผ่านเวบเพจหรือซีดีรอม หรือจัดหาหนังสือที่เหมาะสมและแนะนำให้อ่าน

  47. สื่อสารและ สร้างความเข้าใจ  ชี้แจงและสร้างความเข้าใจกับบุคลากรถึงแผนการฝึกอบรมที่จัดทำขึ้นรวมทั้งหลักเกณฑ์ในการฝึกอบรม

  48. ประเมินผล และทบทวนแผน  ประเมินผลการฝึกอบรมและนำมาปรับปรุงแผนที่วางไว้  การประเมินสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ 1. การประเมินหลักสูตร เพื่อพิจารณาว่าหลักสูตรนั้นมีประ สิทธิภาพหรือไม่ 2. การประเมินผู้เข้ารับการฝึกอบรม เพื่อพิจารณาว่าผู้เข้า รับการฝึกอบรมนั้นมีพัฒนาการหรือไม่

More Related