1 / 16

ประจำปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 56 – 31 กรกฏาคม 57)

การประชุมทำความเข้าใจ สำหรับรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับภาควิชา. ประจำปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 56 – 31 กรกฏาคม 57). หัวข้อ. ปัจจัยความสำเร็จการทำงานประกันคุณภาพการศึกษา ตารางการตรวจประเมินผ่านระบบ esar.uru.ac.th ( ออกเป็นประกาศต่อไป) esar.uru.ac.th

archer
Download Presentation

ประจำปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 56 – 31 กรกฏาคม 57)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมทำความเข้าใจการประชุมทำความเข้าใจ สำหรับรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับภาควิชา ประจำปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 56 – 31 กรกฏาคม 57)

  2. หัวข้อ • ปัจจัยความสำเร็จการทำงานประกันคุณภาพการศึกษา • ตารางการตรวจประเมินผ่านระบบ esar.uru.ac.th (ออกเป็นประกาศต่อไป) • esar.uru.ac.th • ประกาศตัวบ่งชี้ระดับภาควิชา • ตัวอย่างการเขียนผลการดำเนินงานและหลักฐานที่ใช้ประกอบและการเขียนรหัสเอกสาร (เอกสารแจก) • ความสำคัญของผู้ลงข้อมูล common data set ในระดับคณะที่ต้องเชื่อมโยงกับระดับมหาวิทยาลัย (เอกสารแจก)

  3. ปัจจัยความสำเร็จสำหรับงานประกันคุณภาพการศึกษา อ้างอิง : รศ อุษณีย์ คำประกอบ, 2557

  4. ปัจจัยความสำเร็จสำหรับงานประกันคุณภาพการศึกษา • 1. ภาวะผู้นำของผู้บริหารสูงสุดของแต่ละหน่วยงาน ตั้งแต่อธิการบดี คณบดี ผู้อำนวยการแบะภาควิชา • 2. เจตคติต่อการประเมิน ข้อนี้สำคัญที่สุด ทุกคนในหน่วยงาน ตั้งแต่ผู้บริหาร อาจารย์ต้องมีความรู้สึกที่ดี ต่อการประเมิน ถ้ามีเสียงบ่นจากใครคนใดคนหนึ่งว่า ยุ่งยาก เป็นภาระ การประกันคุณภาพของหน่วยงานนั้น อาจหมดหวังแล้ว • 3. การมีส่วนร่วมของทุกคน คุณภาพเป็นเรื่องของทุกคน เป็นงานปกติของทุกคน ไม่ใช่ของผู้บริหาร หรือ อาจารย์ หรือเจ้าหน้าที่ แต่ต้องร่วมใจเป็นของทุกคน • 4. ทุกคนต้องเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพ รู้จุดมุ่งหมาย วิธีการประเมิน ผู้ประเมิน ตัวบ่งชี้ และการนำผล การประเมินไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ • 5. ทุกคนต้องมีทักษะเกี่ยวกับกระบวนการประเมิน รู้ทุกระดับ ผู้บริหารมีทักษะประสบการณ์ สามารถให้คำแนะนำผู้ปฏิบัติได้และผู้ปฏิบัติก็มีทักษะที่ตอบสนองกระบวนการและผู้บริหารได้ ขยายความ : รศ.ดร.เรืองเดช วงศ์หล้า, 2557

  5. งานประกันคุณภาพการศึกษาจต้องทำเป็นทีม : ทฤษฏีฝูงห่าน

  6. ตารางการตรวจประเมินผ่านระบบ esar.uru.ac.th

  7. ตารางการตรวจประเมินผ่านระบบ esar.uru.ac.th

  8. ตารางการตรวจประเมินผ่านระบบ esar.uru.ac.th

  9. esar.uru.ac.th

  10. ต่อ

  11. ประกาศตัวบ่งชี้ระดับภาควิชา ๒๐ ตัวบ่งชี้

  12. แนวทางการเขียนผลการดำเนินงานและการกำหนดรหัสเอกสาร • ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน (สกอ.1.1) • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มีกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ( พ.ศ. 2555-2558) ดังต่อไปนี้ • 1.สภามหาวิทยาลัยมีมติแต่งตั้งคณะอนุกรรมการยกร่าง ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจจากการประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ .../....(เอกสารแนบหมายเลข 1.1_1(1)) • หลักฐาน • 1.1_1(1) รายงานการประชุมสภาฯครั้งที่ .../.... • ความหมายของรหัสเอกสาร • 1.1 - ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน • _1 - เกณฑ์การประเมินข้อที่ 1 มีการจัดทำแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของสภาสถาบัน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบัน และได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน โดยเป็นแผนที่เชื่อมโยงกับปรัชญาหรือปณิธานและพระราชบัญญัติสถาบัน ตลอดจนสอดคล้องกับจุดเน้นของกลุ่มสถาบัน กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 • (1) - รายการหลักฐานที่ 1 • รายงานการประชุมสภา - ชื่อเอกสาร/หลักฐาน

  13. ข้อพึงระวัง เรื่องระยะเวลาของข้อมูล • ตัวอย่าง องค์ 2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร • เกณฑ์มาตรฐานทั่วไป • เกณฑ์ 3 ทุกหลักสูตรมีการดำเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ คือ ต้องมีการประเมินผลตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือวิชา เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตร เช่น เล่มหลักสูตรทุกเล่ม • รายละเอียดเพิ่มเติม ในการพัฒนาระบบ องค์ 2 ตามเกณฑ์ 3 ตามมาตรฐานหลักสูตร TQF โดย ผอ. กบศ. (เอกสารแจก)

  14. ข้อพึงระวัง เรื่องระยะเวลาของข้อมูล และวันที่ ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) ของทุกหหลักสูตร

  15. ความสำคัญของผู้ลงข้อมูล common data set ในระดับคณะที่ต้องเชื่อมโยงกับระดับมหาวิทยาลัย เอกสารแนบ : (ร่าง) การดำเนินงานการเก็บข้อมูลพื้นฐาน (Common Data Set) สำหรับกรอก CHE QA Online ปีการศึกษา ๒๕๕๖

More Related