2.71k likes | 3.44k Views
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535. เชิดชัย มีคำ. ขอบเขตการนำเสนอ. สาระสำคัญของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2545 แนวทางปฏิบัติ. การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ. บทเฉพาะกาล. การยืม การควบคุม การจำหน่าย. การจัดหา.
E N D
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุพ.ศ. 2535 เชิดชัย มีคำ
ขอบเขตการนำเสนอ • สาระสำคัญของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2545 • แนวทางปฏิบัติ
การควบคุมและจำหน่ายพัสดุการควบคุมและจำหน่ายพัสดุ บทเฉพาะกาล • การยืม • การควบคุม • การจำหน่าย การจัดหา • ทั่วไป • การซื้อการจ้าง • การจ้างที่ปรึกษา • การจ้างออกแบบและควบคุมงาน • การแลกเปลี่ยน • การเช่า • สัญญาและหลักประกัน • การลงโทษผู้ทิ้งงาน ความทั่วไป • นิยาม • การใช้บังคับและการมอบอำนาจ • บทลงโทษ • กวพ. โครงสร้างระเบียบ ว่าด้วยการพัสดุ 2535
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2545 • เป็นระเบียบที่กำหนดวิธี • การจัดหา • การจัดการ • เป็นระเบียบที่มุ่งเน้นวิธีการดำเนินการ
การจัดหา 1. การจัดทำเอง 2. การซื้อ 3. การจ้าง 4. การจ้างที่ปรึกษา 5. การจ้างออกแบบควบคุมงาน 6. การแลกเปลี่ยน 7. การเช่า การจัดการ 1. การยืม 2. การควบคุม 3. การบำรุงรักษา 4. การจำหน่าย การบริหารด้านพัสดุ
วงจรบริหารพัสดุ กำหนดความต้องการ ระเบียบ เบิกจ่ายเงินจากคลัง การเบิกจ่ายเงิน การจัดทำงบประมาณ บริหารพัสดุ การจัดหาพัสดุ งบประมาณรายจ่ายประจำปี ระเบียบพัสดุ ระเบียบพัสดุ การจัดการพัสดุ
การบริหารงานพัสดุ • เงิน • เงินงบประมาณ • เงินนอกงบประมาณ • คน • เจ้าหน้าที่พัสดุ / หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • หัวหน้าหน่วยงาน • ผู้มีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง • คณะกรรมการ • การบริหารจัดการ • ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ • ระเบียบว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ • ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ • พัสดุ • วัสดุ • ครุภัณฑ์ • ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
ผู้มีอำนาจ คน ผู้ปฏิบัติ • แผนการจัดหา • ดำเนินการ • จัดทำสัญญา • สั่งซื้อสั่งจ้าง • เจ้าหน้าที่พัสดุ • หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • คณะกรรมการ ผู้ตรวจสอบ ผู้ค้า
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ • หัวหน้าส่วนราชการ • ปลัดกระทรวง • รัฐมนตรีเจ้าสังกัด • ผู้รับมอบอำนาจ ผู้มีอำนาจอนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ • อธิบดี • ผู้ว่าราชการจังหวัด • ผู้รับมอบอำนาจ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • ดำรงตำแหน่ง • แต่งตั้ง เจ้าหน้าที่พัสดุ
บทบาทหน้าที่และจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุบทบาทหน้าที่และจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ
จัดทำรายงาน ขอซื้อ ขอจ้าง ขอแลกเปลี่ยน การเช่า เสนอหัวหน้าส่วนราชการ เมื่อได้รับมอบพัสดุ ติดต่อตกลงราคากับผู้ขาย ผู้รับจ้าง (วิธีตกลงราคา) จัดทำเอกสาร สอบราคา ประกวดราคา เผยแพร่ รับมอบพัสดุ ควบคุมพัสดุ ลงบัญชีวัสดุ ทะเบียนครุภัณฑ์ที่ราชพัสดุ เก็บรักษาพัสดุ ลงบัญชีเมื่อจำหน่ายพัสดุ เจ้าหน้าที่พัสดุ
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • ลงนามสั่งซื้อ สั่งจ้างในการจัดหาโดยวิธีตกลงราคา • จัดซื้อจัดจ้างวิธีกรณีพิเศษ วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท • เก็บรักษาซองสอบราคาและส่งมอบให้ คกก.เปิดซองสอบราคา • ควบคุมการจัดทำเอกสารประกวดราคาและการเผยแพร่เอกสาร • เสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหัวหน้าส่วนราชการ
หัวหน้าส่วนราชการ • แต่งตั้งเจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • ให้ความเห็นชอบในรายงานขอซื้อ ขอจ้าง • แต่งตั้งคณะกรรมการ
หัวหน้าส่วนราชการ (ต่อ) • พิจารณาผลการดำเนินการจัดหา และสั่งซื้อ สั่งจ้าง ในวงเงิน • สั่งยกเลิกการประกวดราคา • เสนอความเห็นต่อปลัดกระทรวง รัฐมนตรี กรณีวงเงินเกินอำนาจ • ลงนามในสัญญาและบริหารสัญญา • ส่งสำเนาสัญญาเกิน 1,000,000 บาทให้ สตง.และกรมสรรพากร ใน 30 วัน • เสนอความเห็นลงโทษผู้ทิ้งงาน • รับอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
ปลัดกระทรวง • สั่งซื้อ สั่งจ้าง ในวงเงิน • พิจารณาผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามข้อผูกพันของทางราชการให้เป็นผู้ทิ้งงาน และแจ้งกระทวงการคลัง
รัฐมนตรีเจ้าสังกัด สั่งซื้อ สั่งจ้าง ในวงเงิน
คณะกรรมการ • เปิดซองสอบราคา • รับและเปิดซองประกวดราคา • พิจารณาผลการประกวดราคา • จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ • ตรวจรับพัสดุ • ตรวจการจ้าง
คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) • ตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบ • พิจารณาอนุมัติยกเว้น หรือผ่อนผันการไม่ปฏิบัติ ตามระเบียบ • กำหนดหลักเกณฑ์ แนวทางและวิธีปฏิบัติเพื่อให้มีการปฏิบัติตามระเบียบ
จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ - วางตัวเป็นกลาง - ปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตสำนึก โปร่งใส ตรวจสอบได้ - มีทัศนคติที่ดี พัฒนาตนเองอยู่เสมอ - ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ - ใช้ทรัพย์สินอย่างคุ้มค่า ประหยัด มีประสิทธิภาพ - คำนึงถึงประโยชน์ของหน่วยเป็นหลัก ยึดหลักความถูกต้อง ยุติธรรมความสมเหตุสมผล - ร่วมงานกับผู้บังคับบัญชา/ผู้ร่วมงาน ด้วยความเอาใจใส่ ร่วมมือช่วยเหลือแก้ไขปัญหา และพัฒนางาน
จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ (ต่อ) - ไม่เรียก/รับ/ยอมรับ--------->ทรัพย์สิน/ผลประโยชน์ จากผู้ขาย/ผู้รับจ้าง/ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ - ปฏิบัติต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง/ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยความเป็นธรรม เอื้อเฟื้อ มีน้ำใจ และต้องไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อการแข่งขันอย่างเสรี/ เป็นธรรม - ร่วมกับทุกฝ่าย สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัสดุ/ผู้เกี่ยวข้องให้พัฒนางานเป็นวิชาชีพเฉพาะสาขาหนึ่ง - ผู้บังคับบัญชาพึงเอาใจใส่ผู้ปฏิบัติงาน ให้คำปรึกษา/คำแนะนำการปฏิบัติงานรับฟังความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล (มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2543 แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ นร0205/1123 ลงวันที่ 26 มกราคม 2543 และหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ)1305/ว 2324 ลงวันที่ 13 มีนาคม 2543)
เงิน • พัสดุ ’ 35 • งบประมาณ • รายจ่ายของส่วนราชการ • งบกลาง • นอกงบประมาณ • เงินที่ได้รับยกเว้นตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ • ต้องทราบยอดเงินที่ใช้ในการจัดหา
- การจัดหาต้องทราบยอดเงิน - • คำว่า “ทราบยอดเงิน” หมายความถึง การทราบยอดเงินงบประมาณประจำปีที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติจากรัฐสภา หรือได้รับอนุมัติจากสำนักงบประมาณแล้ว
วงเงินการจัดหา • เงินรับบริจาค • อิงหลักเกณฑ์ตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ • หากจะต้องดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างจากผู้ผลิตและจำหน่ายโดยตรง ใช้วิธีพิเศษ
ความหมาย • การพัสดุ หมายความว่า การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่า การควบคุม การจำหน่ายและการดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ • พัสดุ หมายความว่า วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ที่กำหนดไว้ในหนังสือการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณของสำนักงบประมาณ หรือการจำแนกประเภทรายจ่ายตามสัญญาเงินกู้จากต่างประเทศ
เครื่องตรวจจับธนบัตรปลอม ราคา 850 บาท โต๊ะเหล็ก (.80 x1.8 x.75) ราคา 3,150 บาท เก้าอี้สำนักงาน ราคา 2,350 บาท โต๊ะคอมพิวเตอร์ ราคา 2,050 บาท USB DRIVE ชนิด 4 GB ราคา 1,925 บาท เครื่องทำลายเอกสาร ราคา 1,450 บาท ตู้เหล็กเก็บเอกสาร ชนิด 2 บาน ชั้นเหล็กสำหรับวางแฟ้ม เครื่องโทรสาร เครื่องเลเซอร์พริ้นเตอร์ เครื่องเข้าเล่ม (เอกสาร ) เครื่องเคลือบบัตร เครื่องยิงกระดาษพร้อมลวดเย็บ ตู้เซฟชนิดใช้การ์ดล็อก เครื่องบันทึกเงินสด ชนิดมีช่องใส่ธนบัตรและช่องใส่เหรียญ มีจอแสดงผล LCD อะไรเป็นวัสดุ
การพัสดุ ? • การขอใช้บริการ internet • การเช่ารถ .....เป็นการเช่า หรือจ้างเหมาบริการ ? • การจัดหาอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม • การประกันภัยรถราชการ
การประกันภัยรถราชการ • รถราชการต้องจัดให้มีการประกันภัยภาคบังคับตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 • การประกันภัยภาคสมัครใจ ให้ส่วนราชการพิจารณาตามความจำเป็นและเหมาะสม โดยให้เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองการจัดเอาประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ • ค่าใช้จ่ายจากงบประมาณหรือเงินอื่นใดของส่วนราชการ (มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2548)
การประกันภัยรถราชการ • การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการประกันภัยรถราชการใช้งบประมาณหรือเงินอื่นใดของส่วนราชการ • ต้องเป็นรถราชการ • ประเภท • ภาคบังคับตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 • ภาคสมัครใจ • ตามความจำเป็นและเหมาะสมกับภารกิจของแต่ละหน่วยงาน • เป็นอำนาจของคณะกรรมการกลั่นกรองการจัดเอาประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ • เบิกไม่ได้ ..... รถเช่า .....รถส่วนตัว (ว 349 ลว 8 กันยายน 2548)
พัสดุ วัสดุ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง พัสดุ คืออะไร ครุภัณฑ์ (จำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ)
ค่าวัสดุ • รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่ง • โดยสภาพเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลืองหมดไปแปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม • สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรและมีราคาต่อหน่วย หรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาทรวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน
ค่าวัสดุ • รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท • รายจ่ายเพื่อประกอบดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท
ค่าวัสดุ (ต่อ) • รายจ่ายเพื่อประกอบดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุง • ครุภัณฑ์ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท • ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ที่มีวงเงินไม่เกิน 50,000 บาท • รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ
ค่าครุภัณฑ์ • รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรและ มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า5,000บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน • รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า20,000 บาท
ค่าครุภัณฑ์ (ต่อ) • รายจ่ายเพื่อประกอบดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์รวมทั้งครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่มีวงเงิน เกินกว่า 5,000บาท • รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมแซมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง • รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์
ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง • รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง • รวมถึงรายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งต่าง ๆ ซึ่งติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง • ค่าจัดหาสิ่งก่อสร้างใหม่ซึ่งไม่รวมถึงค่าจัดหาที่ดิน • รายจ่ายเพื่อดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น • ค่าจัดสวน • ค่าถมดิน • ค่าปรับปรุงอาคาร • ที่มีวงเงินค่าใช้จ่ายในแต่ละรายการเกินกว่า 50,000บาท
ค่าสาธารณูปโภค • รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เป็นต้น ตามรายการ ดังนี้ (1) ค่าไฟฟ้า (2) ค่าประปา ค่าน้ำบาดาล (3) ค่าโทรศัพท์ เช่น ค่าโทรศัพท์พื้นฐาน ค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมถึงบัตรโทรศัพท์ บัตรเติมเงินโทรศัพท์ (4) ค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข เช่น ค่าไปรษณีย์ ค่าโทรเลข ค่าธนาณัติ ค่าดวงตราไปรษณียากร ค่าเช่าคู้ไปรษณีย์ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินผ่านธนาคาร เป็นต้น
ค่าสาธารณูปโภค (5) ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายเพื่อให้ได้ซึ่งบริการสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น ค่าโทรภาพ(โทรสาร) ค่าเทเลกซ์ ค่าวิทยุติดตามตัว ค่าวิทยุสื่อสาร ค่าสื่อสารผ่านดาวเทียม ค่าจ่ายเกี่ยวกับการใช้ระบบอินเทอร์เน็ตรวมถึงอินเตอร์เน็ตการ์ด และค่าสื่อสารอื่น ๆ เช่น ค่าเคเบิ้ลทีวี ค่าเช่าช่องสัญญาณดาวเทียม เป็นต้น
การบริหารจัดการ กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ • การจัดทำคำของบประมาณ • การก่อหนี้ผูกพัน • การเบิกจ่ายเงิน • บทลงโทษการฝ่าฝืน
ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ • หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ • การจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • การใช้รายจ่าย • การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย • การรายงานผลการปฏิบัติงาน
กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ • จัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการ • ประกาศสอบราคา • ประกาศประกวดราคา • ผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้าง • สรุปผลเป็นรายเดือนทุกเดือน รายละเอียด • งานที่จัดซื้อจัดจ้าง • วงเงินงบประมาณ • วิธีซื้อหรือจ้าง • รายชื่อผู้เสนอราคาและราคาที่เสนอ • ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกและเหตุผล
กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง • คำสั่งทางปกครอง • การสั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่าซื้อ หรือเช่า • การสั่งอนุมัติซื้อ หรือจ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย หรือให้เช่า • การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอ • การสั่งเป็นผู้ทิ้งงาน • การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
กฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ 1. รู้ ควรรู้ แต่ไม่ยกเลิกการดำเนินการ โทษจำคุก 1 - 10 ปี ปรับ 20,000 – 200,000 บาท 2. ออกแบบ กำหนดราคา เงื่อนไข ผลประโยชน์ตอบแทนเพื่อช่วย กีดกันผู้เสนอราคา โทษจำคุก 5 – 20 ปี / ตลอดชีวิต ปรับ 100,000 – 400,000 บาท 3. กระทำการมิให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม โทษจำคุก 5 – 20 ปี / ตลอดชีวิต ปรับ 100,000 – 400,000 บาท
กฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐกฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ ผู้เสนอราคา • ร่วมกันในการเสนอราคาเพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม มีโทษจำคุก 1 - 3 ปี ปรับ 50% • ให้ ขอให้ รับว่าจะให้ (รวมผู้รับ) มีโทษจำคุก 1 - 5 ปี ปรับ 50% • ข่มขืนใจ โดยใช้กำลังประทุษร้าย/ขู่เข็ญ มีโทษจำคุก 5 - 10 ปี ปรับ 50% • ใช้อุบายหลอกลวง มีโทษจำคุก 1 - 5 ปี ปรับ 50% • โดยทุจริตเสนอราคาสูง/ต่ำไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาได้ มีโทษจำคุก 1 - 3 ปี ปรับ 50% • นิติบุคคลกระทำผิดให้ถือว่าผู้บริหารเป็นตัวการร่วม
ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยการงบประมาณและการคลัง โทษชั้นที่ 1 - มีหน้าที่ปิดประกาศ จัดส่งเอกสาร - ละเลยไม่ปิดปิดประกาศหรือจัดส่งหรือเผยแพร่ - ปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน โทษชั้นที่ 2 - มีหน้าที่เบิกจ่ายพัสดุ จัดทำบัญชี - ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 2 เดือน ถึง 4 เดือน
ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยการงบประมาณและการคลัง โทษชั้นที่ 3 - มีหน้าที่พิจารณาผลปฏิบัติไม่ถูกต้องตามเงื่อนไข โดยรู้ หรือควรจะรู้ เกิดความเสียหาย - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 5 เดือน ถึง 8 เดือน โทษชั้นที่ 4 - มีหน้าที่ดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติโดยมิชอบ แบ่งแยกวงเงินจัดซื้อ จัดจ้าง - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 9 เดือน ถึง 12 เดือน
กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ กรณีที่เกิดละเมิดขึ้นแก่เอกชน • เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการไปตามหน้าที่แล้วเกิดละเมิดขึ้นแก่เอกชน หน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่นั้นสังกัดอยู่ เป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในผลแห่งละเมิดนั้น • ถ้าการละเมิดนั้นไม่ได้เกิดจากการกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ ผู้เสียหายจะต้องฟ้องตัวเจ้าหน้าที่ผู้ทำละเมิด จะฟ้องร้องหน่วยงานไม่ได้