110 likes | 353 Views
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2535 ภูมิพลอดุลยเดช. มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “วิทยุคมนาคม” หมายความว่า การส่งหรือการรับเครื่องหมายสัญญาณ ตัวหนังสือภาพและเสียง หรือการอื่นใด
E N D
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคมพ.ศ.2535ภูมิพลอดุลยเดชพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคมพ.ศ.2535ภูมิพลอดุลยเดช มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “วิทยุคมนาคม”หมายความว่า การส่งหรือการรับเครื่องหมายสัญญาณ ตัวหนังสือภาพและเสียง หรือการอื่นใด “เครื่องวิทยุคมนาคม”หมายความว่าเครื่องส่งและเครื่องรับวิทยุคมนาคม แต่ไม่รวมตลอดถึงเครื่องรับวิทยุ กระจายเสียง เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์
บทนิยาม “เครื่องวิทยุคมนาคม”แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535 “พนักงานวิทยุคมนาคม”หมายความว่าผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม “สถานีวิทยุคมนาคม”หมายความว่าที่ส่งวิทยุคมนาคมหรือที่ส่งและที่รับวิทยุคมนาคม “ทำ”หมายความตลอดถึงการประกอบขึ้นการแปรสภาพ หรือการสลับสร้างใหม่ “นำเข้า”หมายความว่าการนำเข้าในราชอาณาจักร “ค้า”หมายความรวมถึง การมีไว้ในครอบครอง เพื่อขายหรือซ่อมแซมด้วย
“เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต”หมายความว่าเจ้าพนักงานซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้“เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต”หมายความว่าเจ้าพนักงานซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ • “รัฐมนตรี”หมายความว่ารัฐมนตรีผู้รักษาตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 5พระราชบัญญัตินี้เว้นแต่มาตรา 11 และมาตรา 12 ไม่ใช้บังคับแก่ (1)กระทรวง ทบวง กรม (2)นิติบุคคลตามที่กำหนดในกระทรวง
มาตรา 6ห้ามมิให้ผู้ใด ทำ มี ใช้ นำเข้า นำออก หรือค้าซึ่งวิทยุคมนาคม เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต ในกรณีที่เห็นสมควร รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดให้เครื่องวิทยุคมนาคมบางลักษณะ หรือเครื่องวิทยุที่ใช้กิจการบางประเภทได้รับการยกเว้นไม่ต้องได้รับใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งทั้งหมด หรือเพราะแต่บางกรณีได้มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือทั้งปรับและจำ มาตรา7ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำหน้าที่พนักงานวิทยุคมนาคม ในตำแหน่งทีกำหนดในกระทรวง เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต มาตรา 8ห้ามมิให้ผู้ใดรับข่าววิทยุคมนาคมต่างประเภทเพื่อการโฆษณาเว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต
มาตรา 11ห้ามมิให้ผู้ใดตั้งสถานีวิทยุเว้นแต่จะได้รับใบอนุญาต จากเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาตสถานีวิทยุคมนาคมต้องใช้ความถี่ให้ถูกต้องตามข้อบังคับว่าด้วยวิทยุคมนาคมตามภาคผนวกต่อท้ายอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยโทรคมนาคม มาตรา 12ห้ามมิให้สถานีวิทยุคมนาคมดำเนินกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์อื่นใด นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในใบอนุญาต หรือนอกเหนือจากราชการ ของ กระทรวง ทบวง กรม หรือกิจการของนิติบุคคลตามมาตรา มีโทษปรับไม่เกิน 1 แสนบาท จำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา 13ห้ามมิให้ยานพาหนะใด ๆ ใช้เครื่องวิทยุโทรคมนาคม นอกจากจะใช้ตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง หรือได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีเป็นพิเศษชั่วครั้งคราว
มาตรา 14เพื่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน หรือเพื่อป้องกันราชอาณาจักร รัฐมนตรีมีอำนาจออกคำสั่งเฉพาะกาลให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจยึดไว้เอาไปใช้ ห้ามการใช้ หรือห้ามการยักย้ายซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคม หรือส่วนใด ๆ แห่งเครื่องวิทยุในระหว่างเวลาภายในเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในคำสั่งนั้น มาตรา 15ผู้ใดกระทำให้เกิดการรบกวน หรือขัดขวางต่อการวิทยุคมนาคมโดยมิได้เจตนาเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายมีอำนาจ สั่งให้ผู้นั้นระงับการกระทำนั้น หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ใช้ในการกระทำนั้นเสีย หรือให้ย้ายสิ่งดังกล่าวนั้นออกไปให้พ้นเขตรบกวนได้ 15มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 4 แสนบาท หรือจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือทั้งปรับและจำ มาตรา 16ห้ามมิให้ผู้ใดส่ง หรือจัดให้ส่งข้อความใด ๆ โดยวิทยุคมนาคม อันตนรู้อยู่ว่าเป็นเท็จ หรือข้อความอื่นใด ที่มิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศชาติหรือประชาชน
มาตรา 17ห้ามมิให้ผู้ใดดักรับและใช้ประโยชน์ หรือเปิดเผยโดยมิชอบด้วยกฎหมายซึ่งข่าววิทยุโทรคมนาคมที่มิได้มุ่งหมายเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนปรับ4หมื่นบาทจำคุก 2 ปี มาตรา 18 เพื่อตรวจเครื่องวิทยุคมนาคม ส่วนแห่งเครื่องวิทยุคมนาคม สถานีวิทยุคมนาคม สิ่งที่ก่อให้เกิดการรบกวน หรือขัดขวางต่อการวิทยุคมนาคม หรือ ใบอนุญาตเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายมีอำนาจเข้าไปในอาคารสถานที่ หรือยานพาหนะของบุคคลใด ๆ ได้ในเวลาอันสมควร มาตรา 19ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตฝ่าฝืนต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาตมีอำนาจสั่งเพิกถอน หรือพักใช้ใบอนุญาตของผู้นั้นเสียได้
มาตรา 21ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต มีอำนาจเปรียบเทียบปรับได้ มาตรา 23ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 6,11,16มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือทั้งปรับและจำ มาตรา 24ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 12,13 ผู้ควบคุมสถานีวิทยุคมนาคม หรือผู้ควบคุมเครื่อง และผู้มีส่วนร่วมในการกระทำผิดนั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 4 หมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือทั้งปรับและจำ มาตรา 25ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 7,8,17มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือทั้งปรับและจำ
มาตรา 26ผู้ใดจงใจกระทำให้เกิดการรบกวน หรือขัดขวางต่อการวิทยุคมนาคม มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือทั้งปรับและจำ มาตรา 27ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งของเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายตามความในมาตรา 15มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 4 แสนบาท หรือจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือทั้งปรับและจำ