750 likes | 1.28k Views
พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551. บริษัทประกันชีวิต บุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับการประกันชีวิต ตัวแทนประกันชีวิต นายหน้าประกันชีวิต นักคณิตศาสตร์ประกันภัย กองทุนประกันชีวิต การบังคับใช้กฎหมายทางอาญา และทางปกครอง. 2. หลักทรัพย์ประกัน. บริษัทประกันชีวิต
E N D
พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 • บริษัทประกันชีวิต • บุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับการประกันชีวิต ตัวแทนประกันชีวิตนายหน้าประกันชีวิต นักคณิตศาสตร์ประกันภัย • กองทุนประกันชีวิต การบังคับใช้กฎหมายทางอาญา และทางปกครอง 2
หลักทรัพย์ประกัน • บริษัทประกันชีวิต บริษัทต้องมีหลักทรัพย์วางไว้กับนายทะเบียน ไม่น้อยกว่า 20 ล้านบาท 3 3
การดำรงเงินกองทุนก่อน 1 ก.ย. 2554 เงินกองทุน : ทรัพย์สินส่วนที่เกินกว่าหนี้สินตามราคาประเมิน บริษัทประกันชีวิต: ไม่น้อยกว่า 2% ของเงินสำรองแต่ไม่ต่ำกว่า 50 ล้านบาท 4 4
การดำรงเงินกองทุนหลัง 1 ก.ย. 54 เงินกองทุน : ดำรงเงินกองทุนตามความเสี่ยง 4 ประเภท 1. ความเสี่ยงจากการรับประกันภัย 2. ความเสี่ยงด้านตลาด 3. ความเสี่ยงด้านเครดิต 4. ความเสี่ยงด้านการกระจุกตัว 5 5
บริษัทดำรงเงินกองทุนไม่ครบถ้วนบริษัทดำรงเงินกองทุนไม่ครบถ้วน • บริษัทต้องเสนอโครงการเพื่อแก้ไขฐานะเงินกองทุน • ระหว่างดำเนินการตามโครงการ ห้ามบริษัทขยายธุรกิจ 6
การรับประกันภัยรายใหม่ ขยายวงเงินรับประกันภัยเดิม การเพิ่มความเสี่ยงในการลงทุน การก่อภาระผูกพันเพิ่มเติม การทำสัญญาแต่งตั้งตัวแทนประกันภัย/นายหน้าประกันภัยเพิ่มเติม การรับโอนกิจการของบริษัท (กรณีใดเป็นการเพิ่มความเสี่ยง ก่อภาระผูกพันเพิ่ม เป็นไปตามที่นายทะเบียนกำหนด) มาตรา 27/6 ความหมายของการขยายธุรกิจ 7 7
เงินสำรองประกันภัย (ชีวิต) (1) บริษัทต้องจัดสรรเบี้ยประกันภัยไว้เป็นเงินสำรอง ประกันภัย สำหรับกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมีความ ผูกพันอยู่ (มาตรา 23) (2) บริษัทต้องนำ 25% ของเงินสำรองตาม (1) หลังจากหักจำนวนเงินให้กู้ยืมโดยมีกรมธรรม์ ประกันภัยเป็นประกันวางไว้กับนายทะเบียน 8
ฝากเงินสำรอง...ไว้กับสถาบันการเงินฝากเงินสำรอง...ไว้กับสถาบันการเงิน • ให้บริษัทจัดสรรสินทรัพย์ไว้สำหรับหนี้สินและ ภาระผูกพันตามสัญญาประกันชีวิต มาตรา 27/4 ว.1 • ให้บริษัทนำเงินสำรองตามมาตรา 23 และสินทรัพย์ตาม มาตรา 27/4 ว.1...ฝากกับสถาบันการเงิน มาตรา 27/4 ว.2 • ห้ามบริษัทนำสินทรัพย์ไปก่อภาระผูกพัน มาตรา 27/4 ว.3 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท มาตรา 94/1
การลงทุนประกอบธุรกิจอื่นการลงทุนประกอบธุรกิจอื่น • นอกจากการประกันชีวิตบริษัทจะลงทุน ประกอบธุรกิจอื่นใด ได้เฉพาะที่คณะกรรมการกำหนด มาตรา 28 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา 93 • บทกำหนดโทษกรรมการกรณีบริษัทจงใจกระทำความผิด กรรมการหรือบุคคลใด จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท มาตรา 114
กรมธรรม์ประกันภัย • กรมธรรม์ประกันภัยที่บริษัทออกให้แก่ผู้เอาประกันภัย ต้องเป็นไปตามแบบและข้อความที่นายทะเบียนได้ให้ความ เห็นชอบ มาตรา 29 • อัตราเบี้ยประกันภัยที่บริษัทกำหนด จะต้องได้รับความ เห็นชอบจากนายทะเบียน มาตรา 30 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท มาตรา 95
ห้ามบริษัทมิให้กระทำการห้ามบริษัทมิให้กระทำการ • ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย • ลดทุน • ฝากเงินไว้ที่อื่นนอกจากธนาคาร บริษัทเงินทุนหรือบริษัทหลักทรัพย์ • เก็บเงินสดไว้ที่อื่น นอกจากสำนักงาน... • จ่ายเงินตอบแทนกรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษา พนักงาน เพื่อเป็น ค่านายหน้าหรือค่าตอบแทน...เว้นแต่เป็นการจ่ายบำเหน็จ เงินเดือน โบนัส เงินที่พึงจ่ายตามปกติ • จ่ายเงินให้ตัวแทน-นายหน้านอกจากเงินค่าจ้างหรือบำเหน็จที่พึงจ่าย ตามปกติ
ห้ามบริษัทมิให้กระทำการห้ามบริษัทมิให้กระทำการ • จ่ายเงินล่วงหน้าค่านายหน้าหรือตอบแทนงานที่จะทำให้บริษัท • จ่ายบำเหน็จให้ผู้ที่ไม่ใช่ตัวแทน นายหน้า • ซื้อหรือมีไว้ซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยไม่ได้รับอนุญาต • ให้ประโยชน์พิเศษแก่ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ นอกเหนือจากที่กำหนดในกรมธรรม์ • รับชำระเบี้ยประกันภัยต่ำกว่าจำนวนที่ต้องชำระ • มอบหมายผู้ที่ไม่ใช่ตัวแทน-นายหน้า รับชำระเบี้ยประกันภัย
ห้ามบริษัทมิให้กระทำการห้ามบริษัทมิให้กระทำการ • ออกกรมธรรม์ประกันภัยโดยไม่มีลายมือชื่อกรรมการและ ไม่ประทับตรา • โฆษณาจูงใจเป็นเท็จหรือเกินความจริง • ตั้งหรือมอบหมายผู้ที่ไม่ใช่ตัวแทน กรรมการ พนักงานลูกจ้าง ไปชักชวนหรือจัดการให้บุคคลทำสัญญาประกันภัย มาตรา 33 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา 93
จำหน่ายอสังหาริมทรัพย์จำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ • บริษัทต้องจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้ หรือ ได้มาจากการรับชำระหนี้หรือบังคับจำนอง ภายในห้าปี มาตรา 34 • ห้ามมิให้บริษัทมอบหมายหรือยินยอมให้บุคคลใดรับประกันชีวิต โดยใช้กรมธรรม์ของบริษัท หรือชดใช้ค่าสินไหมทดแทน มาตรา 30 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา 93
การจัดทำสมุดทะเบียน/บัญชีการจัดทำสมุดทะเบียน/บัญชี • ให้บริษัทจัดทำสมุดทะเบียน/บัญชี ต้องจัดทำและยื่น งบการเงินรายไตรมาส งบการเงินสำหรับรอบปีปฏิทิน รายงานประจำปี ยื่นรายงานหรือเอกสารเกี่ยวกับการประกอบ ธุรกิจ มาตรา 40 43 45 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินห้าพันบาท มาตรา 98
บทกำหนดโทษกรรมการ • กรณีบริษัทจงใจกระทำความผิดเพราะฝ่าฝืนมาตรา 23 28 36 • บทกำหนดโทษกรรมการหรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการ ดำเนินการของบริษัท จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท มาตรา 114
อำนาจนายทะเบียน/พนักงานเจ้าหน้าที่อำนาจนายทะเบียน/พนักงานเจ้าหน้าที่ ให้นายทะเบียนและพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตรวจสอบ กิจการและฐานะการเงินของบริษัท และเพื่อประโยชน์ในการ ตรวจสอบ ให้นายทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ สั่งให้บริษัทหรือผู้เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทส่งเอกสารหลักฐาน เรียกบุคคล...มาให้ถ้อยคำหรือจะสั่งให้บุคคลดังกล่าวยื่นคำชี้แจง แสดงข้อเท็จจริงตามที่ต้องการก็ได้ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกแก่นายทะเบียนหรือ พนักงานเจ้าหน้าที่...หรือฝ่าฝืนคำสั่ง...ต้องระวางโทษจำคุก ไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา 48
การพิจารณาข้อร้องเรียนและไกล่เกลี่ยการพิจารณาข้อร้องเรียนและไกล่เกลี่ย ในกรณีที่มีการร้องเรียน การจ่ายค่าสินไหมทดแทน การชดใช้เงิน หรือประโยชน์ ตามกรมธรรม์ประกันภัย นายทะเบียนอาจจัดให้มีการพิจารณาข้อร้องเรียน และดำเนินการ ไกล่เกลี่ย (ระเบียบ สำนักงาน คปภ.) มาตรา 37/1
ประวิงการใช้เงิน ห้ามมิให้บริษัท -ประวิงการใช้เงิน -ประวิงการคืนเบี้ยประกันภัยไม่มีเหตุผลอันสมควร จ่ายหรือคืนโดยไม่สุจริต แก่ผู้เอาประกันภัย/ผู้รับประโยชน์ มาตรา 37 วรรคหนึ่ง
ประวิงการใช้เงิน การกระทำหรือการปฏิบัติใดๆ ของบริษัทที่จะถือเป็นการฝ่าฝืน ตามวรรคหนึ่ง (มาตรา 37 วรรคสอง) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการ กำหนด -ประกาศกระทรวงฯ ลงวันที่ 4 มกราคม 2548
ประวิงการใช้เงินตามสัญญาประกันชีวิตประวิงการใช้เงินตามสัญญาประกันชีวิต ประกาศกระทรวงฯ ลงวันที่ 4 มกราคม 2548 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและระยะเวลาที่ถือว่าเป็นการประวิงการใช้ เงินหรือประวิงการคืนเบี้ยประกันภัยของบริษัทประกันชีวิต มีหลักตาม ข้อ 2 ของประกาศฯ จำนวน 9 ข้อ แบ่งพิจารณาเป็น 2 กลุ่ม -กลุ่ม 1 พิจารณาจากการกระทำของบริษัทโดยตรง -กลุ่ม 2 พิจารณาการกระทำของบริษัทผ่านหน่วยงานหรือ กระบวนการการพิจารณาของหน่วยงานอื่นประกอบ
บอกล้างสัญญาประกันชีวิตบอกล้างสัญญาประกันชีวิต ข้อ 2 (1) บริษัทบอกล้างสัญญาประกันชีวิตตามมาตรา 865 โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือไม่มีพยานเอกสารและหลักฐานแสดงให้เห็นว่า ผู้เอาประกันภัยรู้อยู่แล้วละเว้นเสียไม่เปิดเผยข้อความจริง หรือรู้อยู่แล้วแถลงข้อความอันเป็นเท็จ
เสนอใช้เงินต่ำกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัยเสนอใช้เงินต่ำกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย ข้อ 2 (3) บริษัทได้เสนอใช้เงินต่ำกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย ใช้ค่ารักษาพยาบาลต่ำกว่าที่เป็นจริง หรือต่ำกว่าที่กำหนดไว้ใน กรมธรรม์ประกันภัย โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ข้อ 2 (4) กรณีมีข้อตกลงหรือประนีประนอมยอมความ เกี่ยวกับจำนวนเงินที่จะใช้ตามกรมธรรม์ประกันภัยหรือ จำนวนเบี้ยประกันภัยที่จะคืน บริษัทไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง หรือตามข้อประนีประนอมยอมความ
กรณีร้องเรียน และมีคำวินิจฉัย ข้อ 2 (5) กรณีมีการร้องเรียน ได้มีคำวินิจฉัยให้บริษัทใช้เงิน...หรือคืนเบี้ย... บริษัทไม่ปฏิบัติตามคำวินิจฉัย และไม่โต้แย้งคำวินิจฉัยภายในกำหนดสิบห้าวัน ข้อ 2 (6) บริษัทโต้แย้งคำวินิจฉัยภายในกำหนดสิบห้าวัน นำข้อร้องเรียนไปฟ้องคดีต่อศาล ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นที่โต้แย้งกันให้บริษัทใช้เงิน หรือคืนเบี้ยประกันภัย
กรณีสํญญา..มีหน้าที่ต้องชดใช้เงินกรณีสํญญา..มีหน้าที่ต้องชดใช้เงิน ข้อ 2 (7) กรณีสัญญาประกันภัย ข้อกำหนด หรือกฎเกณฑ์ใด ที่ออกโดย อาศัยอำนาจตามกฎหมายกำหนดชัดแจ้งว่าให้บริษัทมีหน้าที่ ชดใช้เงิน..คืนเบี้ย...หรือดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด บริษัทปฏิเสธ เป็นเหตุให้ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประโยชน์ ผู้เกี่ยวข้อง ร้องเรียน... นำข้อพิพาทสู่วิธีการอนุญาโตตุลาการหรือฟ้องคดีต่อศาล
ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุด ข้อ 2 (8) กรณีศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุด ให้บริษัทใช้เงิน...หรือคืนเบี้ย... บริษัทไม่ปฏิบัติตามคำพิพากษา จนพ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้ ใน คำบังคับ ข้อ 2 (9) กรณีที่อนุญาโตตุลาการมีคำชี้ขาด ให้บริษัทใช้เงิน...หรือคืนเบี้ย... บริษัทไม่ปฏิบัติตามคำชี้ขาด... จนพ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้ ในคำชี้ขาด
บทกำหนดโทษ มาตรา 93 บริษัทใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินห้าแสนบาท กรณีการกระทำความผิดต่อเนื่อง ให้ปรับอีกไม่เกินวันละ สองหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่
คำสั่งนายทะเบียน และการควบคุมบริษัท • เมื่อปรากฎหลักฐานต่อนายทะเบียนว่าบริษัทใดมีฐานะ หรือการดำเนินการอยู่ในลักษณะอันอาจเป็นเหตุให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้เอาประกันภัยหรือประชาชน นายทะเบียน ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอำนาจสั่งให้บริษัทนั้น แก้ไขฐานะหรือการดำเนินการดังกล่าวภายในเวลาที่กำหนด มาตรา 53 กรณีไม่ดีขึ้น รัฐมนตรีจะสั่งให้มีการควบคุม บริษัทนั้น มาตรา 55 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา 93
การเพิกถอนใบอนุญาต • รัฐมนตรีมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจ ประกันชีวิต/ประกันวินาศภัย เมื่อปรากฏแก่รัฐมนตรีว่าบริษัท 1. มีหนี้สินเกินกว่าทรัพย์สิน 2. ฝ่าฝืนบทบัญญัติ 3. หยุดประกอบธุรกิจ 4. ประวิงการใช้เงิน 5. ประกอบธุรกิจต่อไป...จะทำให้เกิดความเสียหาย • มาตรา 64
อายุความ ความผิดตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ที่มีโทษปรับ สถานเดียว ถ้ามิได้ฟ้องต่อศาลหรือมิได้มีการเปรียบเทียบ... ภายในห้าปีนับแต่วันกระทำความผิดเป็นอันขาดอายุความ มาตรา 117/2
หลักเกณฑ์กรณี...กระทำความผิดที่เปรียบเทียบได้หลักเกณฑ์กรณี...กระทำความผิดที่เปรียบเทียบได้ คณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีแต่งตั้งมีอำนาจ เปรียบเทียบได้ มีจำนวนสามคน คนหนึ่งต้องเป็นพนักงานสอบสวน ทำการเปรียบเทียบ (เช่น ประวิงการจ่าย/ ฝ่าฝืนคำสั่งนายทะเบียน) ได้ชำระค่าปรับแล้ว คดีเลิกกัน มาตรา 117
แนวทางการตรวจสอบฐานะ การดำเนินการของบริษัท นายทะเบียนมีอำนาจสั่งให้บริษัทเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานให้ประชาชนทราบ (มาตรา 46/1) สำนักงาน คปภ. มีอำนาจประกาศโฆษณา การฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายของบริษัท ตัวแทนประกันภัย นายหน้าประกันภัย นักคณิตศาสตร์ ให้ประชาชนได้รับรู้รับทราบ (มาตรา 117/2) 33 33
การเปิดเผยข้อมูลของบริษัทประกันภัยการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทประกันภัย
การกำกับดูแลตัวแทน / นายหน้าประกันชีวิต • ตัวแทนประกันชีวิต : ผู้ซึ่งบริษัทมอบหมายให้ทำการชักชวนให้ บุคคลทำสัญญาประกันชีวิตกับบริษัท • นายหน้าประกันชีวิต : ผู้ชี้ช่องหรือจัดการให้บุคคลทำสัญญา ประกันชีวิตกับบริษัท โดยกระทำเพื่อ บำเหน็จจากการนั้น 36 36
คุณสมบัติตัวแทนประกันชีวิตคุณสมบัติตัวแทนประกันชีวิต (1)บรรลุนิติภาวะ (2)มีภูมิลำเนาในประเทศไทย (3) ไม่เป็นคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (4) ไม่เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทำโดยทุจริต เว้นแต่ได้พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต (5) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (6)ไม่เป็นนายหน้าประกันภัย (7) ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันภัย หรือใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันภัย ในระยะเวลาห้าปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต (8)ได้รับการศึกษาวิชาประกันภัยจากสถาบันการศึกษาที่คณะกรรมการประกาศกำหนดหรือสอบความรู้เกี่ยวกับการประกันชีวิตได้ตามหลักสูตรและวิธีการที่คณะกรรมการประกาศกำหนด 37
การกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิตการกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิต ขอใบอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาตต้องผ่านการอบรม (ม.70) บริษัทต้องร่วมรับผิดกับตัวแทนประกันชีวิตต่อความเสียหาย ที่ตัวแทนประกันชีวิตนั้นได้ก่อขึ้นจากการกระทำการเป็น ตัวแทนประกันชีวิตของบริษัท (ม.70/1) มีสิทธิรับชำระเบี้ยประกันภัยในนามของบริษัท (ม.71) แสดงใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันชีวิตทุกครั้งที่ชักชวน/ รับเบี้ย (ม.71/1) (ฝ่าฝืนโทษปรับไม่เกิน 30,000 บาท) 38 38
การกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิตการกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิต หนังสือชักชวน ข้อความ ภาพโฆษณาเป็นส่วนหนึ่งของกรมธรรม์ประกันภัย หากขัด/แย้งกับกรมธรรม์ประกันภัยให้ตีความเป็นคุณแก่ผู้อาประกันภัย ผู้รับประโยชน์ ห้ามใช้หนังสือชักชวน ข้อความ ภาพโฆษณาที่ไม่ได้รับความเห็นชอบจากบริษัท (ม.30/1) 39 39
การกำกับดูแลตัวแทนประกันภัยการกำกับดูแลตัวแทนประกันภัย การนำหนังสือชักชวน ข้อความ ภาพโฆษณาที่ไม่ได้รับความเห็นชอบจากบริษัทไปใช้ บทกำหนดโทษ มาตรา 106/1 (1) ปรับไม่เกิน 30,000 บาท (2) หากการฝ่าฝืนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่บริษัท หรือผู้เอาประกันภัย จำคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 40
การกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิตการกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิต เสนอขาย ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ คปภ. กำหนด (ม.70/2 ช.) ออกเอกสารการรับเงินของบริษัททุกครั้งที่รับชำระเบี้ยประกันภัย (ม.71/1) การใช้ชื่อหรือคำแสดงชื่อต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่นายทะเบียนกำหนด (ม.19) 41 41
การชักชวน/ชี้ช่องของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตการชักชวน/ชี้ช่องของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต • ในการปฏิบัติหน้าที่ ตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตต้องไม่แสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ฝ่าฝืน นอกจากโทษตามประมวลกฎหมายอาญาแล้ว ยังเป็นเหตุให้นายทะเบียนมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตได้(ม.81) 42
การเสนอขายกรมธรรม์ของบริษัทตามประกาศ คปภ. • การเสนอขายกรมธรรม์ผ่านตัวแทน/นายหน้าประกันภัย • การเสนอขายทางโทรศัพท์ • การเสนอขายกรมธรรม์ผ่านไปรษณีย์ (Direct mail) • การเสนอขายกรมธรรม์ผ่านธนาคาร (Bancassurance) • การเสนอขายกรมธรรม์วิธีอื่น • การฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามประกาศฉบับนี้ อาจเป็นเหตุให้ นายทะเบียนเพิกถอนใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิต 43
ข้อกำหนดในการเสนอขายกรมธรรม์ประกันชีวิตข้อกำหนดในการเสนอขายกรมธรรม์ประกันชีวิต • ห้ามชักชวนผู้เอาประกันภัยยกเลิกกรมธรรม์อื่น เพื่อมาซื้อกรมธรรม์ใหม่ • ห้ามใช้ข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริง เพื่อหวังให้มีการทำประกันภัย • ห้ามให้คำแนะนำซึ่งอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิด • อธิบายหลักการเปิดเผยความจริง และผลของการไม่เปิดเผยความจริงหรือการแถลงเท็จ 44
วิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตวิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต • แสดงตัว สังกัด พร้อมใบอนุญาต • แจ้งวัตถุว่าต้องการเสนอขายประกันชีวิต ห้ามใช้คำว่า “ฝากเงิน” • ยุติการเสนอขายทันที เมื่อผู้มุ่งหวังไม่ประสงค์จะซื้อประกันภัย • หากได้รับอนุญาตให้เสนอขายต้องอธิบายเกี่ยวกับกรมธรรม์ โดยใช้เอกสารประกอบการเสนอขายจากบริษัทเท่านั้น • แนะนำให้ผู้มุ่งหวังทำประกันภัยที่เหมาะกับความเสี่ยงและความสามารถในการชำระเบี้ยประกันภัย 45
วิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตวิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต • เมื่อผู้มุ่งหวังประสงค์จะซื้อประกันภัย ให้ผู้มุ่งหวังกรอกใบคำขอ เอาประกันภัยด้วยตนเอง เว้นแต่ได้รับการร้องขอ ตัวแทน/นายหน้าจึงกรอกให้ได้ • ออกเอกสารการรับเงินของบริษัททุกครั้งที่รับเบี้ยประกันภัย • ส่งมอบเอกสารการเสนอขายที่ระบุชื่อผู้ขอเอาประกัน ที่ตัวแทน/นายหน้าลงลายมือของตนเรียบร้อยแล้ว • แจ้งระยะเวลาที่ผู้มุ่งหวังจะได้รับกรมธรรม์ 46
วิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตวิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต • แจ้งเงื่อนไข FreeLook (15 วัน) ให้ผู้มุ่งหวังทราบ • ตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตต้องส่งคำขอเอาประกันชีวิต พร้อมเบี้ยประกันภัยไปยังบริษัทในโอกาสแรกที่กระทำได้ แต่ไม่เกินวันทำการถัดไป 47
การเสนอขายทางโทรศัพท์การเสนอขายทางโทรศัพท์ • ต้องเป็นกรมธรรม์ที่ได้รับความเห็นชอบให้ขายทางโทรศัพท์เท่านั้น • ผู้เสนอขายต้องเป็นตัวแทน/นายหน้าที่ได้รับอนุญาตจากบริษัทให้ขายทางโทรศัพท์ • ห้ามเสนอขายแก่ผู้ที่เคยปฏิเสธการเสนอขาย เว้นแต่พ้นเวลาล่วงพ้นมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน • เสนอขายได้ระหว่างวันจันทร์ – วันเสาร์ เวลา 8.30-19.00 น. 48
การเสนอขายทางโทรศัพท์การเสนอขายทางโทรศัพท์ • เมื่อโทรศัพท์ต้องแจ้งชื่อตัว ชื่อบริษัท เลขที่ใบอนุญาต และแจ้งทันทีประสงค์จะขายประกัน • ปฏิเสธ ยุติการสนทนาทันที แจ้งแหล่งที่มาของข้อมูล หากได้รับการซักถาม • ได้รับอนุญาตให้ขายกรมธรรม์ประกันภัย ต้องขอบันทึกเสียงสนทนา 49
การเสนอขายทางโทรศัพท์การเสนอขายทางโทรศัพท์ • ในการเสนอขายต้องแนะนำให้ทำประกันให้เหมาะกับความเสี่ยงและความสามารถในการชำระเบี้ยประกันภัย โดยต้องอธิบายถึง - บริษัท - สรุปผลประโยชน์ ข้อยกเว้น - จำนวนเบี้ย ระยะเวลาชำระเบี้ย ระยะเวลาประกันภัย - วิธีชำระเบี้ยประกันภัย - แจ้งเงื่อนไข FreeLook (30 วัน) 50
การเสนอขายทางโทรศัพท์การเสนอขายทางโทรศัพท์ ตอบตกลง • บันทึกชื่อ เลขประจำตัว • แจ้งการทำประกันให้บริษัททราบในโอกาสแรก (ไม่เกินวันทำการถัดไป) • แจ้งระยะเวลาที่จะได้รับกรมธรรม์ประกันภัย • ภายใน 7 วัน บริษัทต้องโทรศัพท์ไปขอคำยืนยันการทำประกันภัย แจ้งเงื่อนไข FreeLook (30 วัน) 51