530 likes | 1.46k Views
การวิจัยเชิงคุณภาพ ความหมาย การออกแบบการวิจัย การนำไปใช้. กิตติ กุบแก้ว ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาพันธุ์กระบือ นำเสนอ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๔. ประเภทการวิจัย. แบ่งตามแนวคิดพื้นฐานการวิจัย o การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) มิได้หมายความว่ามีแต่ปริมาณ หรือมีความหมายที่ไม่มีคุณภาพ
E N D
การวิจัยเชิงคุณภาพความหมาย การออกแบบการวิจัย การนำไปใช้ กิตติ กุบแก้ว ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาพันธุ์กระบือ นำเสนอ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๔
ประเภทการวิจัย • แบ่งตามแนวคิดพื้นฐานการวิจัย oการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) มิได้หมายความว่ามีแต่ปริมาณ หรือมีความหมายที่ไม่มีคุณภาพ • ใช้ข้อมูลตัวเลขเป็นฐานยืนยันความถูกต้องของข้อค้นพบและข้อสรุปต่างๆ ของเรื่องที่ทำการศึกษาและวิจัยเป็นส่วนสำคัญ • ข้อค้นพบการวิจัยเป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพดีถ้าสามารถพิสูจน์ได้ว่าคำตอบถูกต้องจากการใช้ระเบียบวิธีที่เหมาะสมและข้อค้นพบสามารถนำไปใช้กว้างขวางทั่วไป
การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) มิได้มีความหมายว่า เป็นการวิจัยที่มีคุณภาพดี แต่หมายถึง • ไม่เน้นข้อมูลที่เป็นตัวเลขเป็นหลัก • เน้นการหารายละเอียดต่างๆ ของกลุ่มประชากรที่ทำการศึกษา ที่จะก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเรื่องนั้นๆ • มิได้มุ่งเก็บข้อมูลที่เป็นหรือสามารถทำให้เป็นตัวเลขมาทำการวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อให้ได้คำตอบ
รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ • การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา หรืเชิงมานุษยวิทยา (Ethnographic/ Anthropological research) • การวิจัยที่เน้นประวัติชีวิตบุคคล (Biographical research)
รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ(ต่อ)รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ(ต่อ) • การวิจัยเชิงคุณภาพแนวปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenological research) • การวิจัยเชิงคุณภาพแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูล (Grounded theory research) • การวิจัยเชิงคุณภาพแบบศึกษาเฉพาะกรณี (Case study research)
: แบ่งตามลักษณะการดำเนินการวิจัย 1.การวิจัยเชิงคุณภาพที่นักวิจัยใช้เวลาเฝ้าสังเกตและมีส่วนร่วมอยู่กับกลุ่มเป้าหมายเป็นเวลานาน • เชิงชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnographic / anthropological research)
2.การวิจัยเชิงคุณภาพที่นักวิจัยใช้เวลาน้อยกับกลุ่มเป้าหมาย แต่คงลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพไว้เกือบทุกประการ • การวิจัยที่ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม(Focus Group Research) • การวิจัยที่ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก(In-depth interview research)
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นหลัก มุ่งทำความเข้าใจทางลึก มากกว่าในทางกว้าง รายละเอียด บริบทของสิ่งที่ศึกษา องค์รวม พลวัตของสิ่งที่ศึกษา
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ(ต่อ)ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ(ต่อ) ใช้วิธีการเก็บข้อมูลได้หลายแบบหลากหลาย มีการออกแบบที่ยืดหยุ่นได้ วิเคราะห์โดยอาศัยการตีความ
กระบวนทัศน์ของวิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพกระบวนทัศน์ของวิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ • ความจริง (reality) ทางสังคมและทางพฤติกรรม เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งไม่ใช่สิ่งที่มีเพียงหนึ่งเดียว แต่อาจมีได้หลายอย่างขึ้นอยู่กับบริบท และเงื่อนไขทางสังคมวัฒนธรรม • การเข้าถึงความจริงจึงอาจทำได้หลายวิธี
กระบวนทัศน์ของวิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ(ต่อ)กระบวนทัศน์ของวิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ(ต่อ) • แต่วิธีเข้าถึงความจริงที่ดีที่สุด คือ ผู้หาความจริง(นักวิจัย) กับผู้เป็นแหล่งของความจริง (กลุ่มตัวอย่างการวิจัย) ควรมีความสัมพันธ์แบบไว้วางใจต่อกันก่อน (ความสัมพันธ์ที่ดีมีส่วนสำคัญในความสำเร็จของการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ)
การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ คือการวางแผนทำการวิจัย โดยนำประเด็นสำคัญเหล่านี้มาพิจารณา • สิ่งที่นักวิจัยอยากรู้ (หัวข้อและคำถามการวิจัย) • สิ่งที่ต้องการบรรลุถึง (จุดมุ่งหมาย) และสิ่งที่จะต้องทำ (วัตถุประสงค์) ในการวิจัย • แนวคิดที่จะใช้เป็นกรอบในการวิจัย (กรอบแนวคิด)
การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ • แหล่งที่จะหาข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ และเครื่องมือที่จะใช้ในการรวบรวมข้อมูล ตลอดจนวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบคำถามการวิจัย (วิธีการวิจัย) • แนวทางตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของการวิจัย
Purposes/ Objectives Conceptual Framework Research Questions Validity Methods ภาพความเชื่อมโยงเชิงปฏิสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ ในการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
คำถามการวิจัย(Research Questions) • เชิงพรรณนา (descriptive)– เพื่อตอบคำถามประเภท “ใคร” “อะไร” “ที่ไหน” ฯลฯ • เชิงวิเคราะห์ หรือเชิงอธิบาย (explanatory, analytical)– มุ่งหาคำอธิบายด้วยการวิเคราะห์ • ไม่ต้องมาก (1-3 คำถามก็มากพอแล้ว)
กรอบแนวคิด(Conceptual Framework) • บอกให้ทราบว่า นักวิจัยจะทำความเข้าใจโจทย์การวิจัยที่ตั้งขึ้นนั้นจากมุมมองใด • ทำหน้าที่เป็นเพียงแนวทาง มากกว่าที่จะเป็นกรอบที่ตายตัว • การทบทวนวรรณกรรม และการคิดกลั่นกรองอย่างรอบคอบ บนพื้นฐานของข้อเท็จจริง จะบอกใบ้ถึงลักษณะข้อมูลที่ต้องการได้
กรอบแนวคิด(Conceptual Framework) • นักวิจัยจะเลือกทำการวิจัยเชิงคุณภาพแบบมีกรอบแนวคิด หรือไม่มีก็ได้ • มีทั้งข้อดี และข้อจำกัด
วิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพวิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ • การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (participant observation) • การสัมภาษณ์เชิงลึก(in-depthinterview- IDI)
วิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพวิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ • การสนทนากลุ่ม (focus group discussion - FGD) • การรวบรวมข้อมูลเอกสาร(documentary search)
การสังเกตในการวิจัยเชิงคุณภาพการสังเกตในการวิจัยเชิงคุณภาพ • การเฝ้าดูและการพรรณนาปรากฏการณ์ หรือพฤติกรรมที่ศึกษาอย่างเป็นระบบในขณะที่สิ่งต่างๆ ดำเนินไปตามธรรมชาติ • ศึกษาปรากฏการณ์ตามที่มันเกิดขึ้นและเป็นไป ไม่มีการดัดแปลง
การสังเกตในการวิจัยเชิงคุณภาพ(ต่อ)การสังเกตในการวิจัยเชิงคุณภาพ(ต่อ) • บทบาทของนักวิจัย • ไม่มีส่วนร่วม ในปรากฏการณ์ที่ศึกษา (คนนอก) • มีส่วนร่วม (เสมือนว่าเป็นคนใน) • ดู ฟัง ซักถาม บันทึก
การสังเกตในการวิจัยเชิงคุณภาพ(ต่อ)การสังเกตในการวิจัยเชิงคุณภาพ(ต่อ) • ควรใช้ควบคู่กับวิธีอื่น เช่นการสัมภาษณ์ • ทักษะที่จำเป็นของนักวิจัย • ทักษะในการสังเกต • ทักษะในการจดบันทึก
การสัมภาษณ์เชิงคุณภาพการสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ • การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง vs การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หรือแบบกึ่งโครงสร้าง • การวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หรือแบบกึ่งโครงสร้าง เป็นหลัก
การสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ)การสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ) • ลักษณะคำถาม • คำถามปลายเปิด • ยืดหยุ่น • การสัมภาษณ์ดำเนินไปเสมือนเป็นการสนทนาในชีวิตประจำวัน
การสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ)การสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ) • ความสำเร็จขึ้นอยู่กับ • ผู้ให้สัมภาษณ์ (key informant, information-rich cases) • ทักษะการสัมภาษณ์ของนักวิจัย และการ “ทำการบ้านอย่างดี” ก่อนการสัมภาษณ์ • แนวคำถาม(interview guidelines)
การสนทนากลุ่ม • กลุ่มตัวอย่างที่คัดเลือกมาเพื่ออภิปรายกันในประเด็นการวิจัยเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ • สมาชิกกลุ่มจะต้องมีทั้งลักษณะที่คล้ายกัน และลักษณะที่แตกต่าง • ปฏิสัมพันธ์ของกลุ่มคือกุญแจสำคัญสู่ข้อมูลที่ดี
การสนทนากลุ่ม • ผู้ดำเนินการสนทนา ต้องมีทั้งความรู้ในเรื่องที่สนทนา มีทักษะในการจัดการพลวัตกลุ่ม และทักษะในการดำเนินการสนทนากลุ่ม • มีแนวคำถามที่ผ่านการคิดกลั่นกรอง และทดสอบมาแล้ว • บรรยากาศการสนทนา
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ กระบวนการทำให้ข้อมูล “พูด” ออกมา อย่างมีความหมาย และสมเหตุสมผลที่สุด
องค์ประกอบสำคัญ จัดระเบียบข้อมูล แสดงข้อมูล สรุป / ตีความ
จัดระเบียบข้อมูล จัดระเบียบข้อมูล จัดระเบียบกายภาพ จัดระเบียบเนื้อหา ถอดเทป บรรณาธิกร ให้รหัสข้อมูล
แสดงข้อมูล แสดงข้อมูล จัดกลุ่มข้อมูล ที่ให้รหัสแล้ว ตามประเด็นหลัก และประเด็นย่อย ทำตาราง เปรียบเทียบ ข้อมูล/ ความหมาย จากแต่ละกลุ่ม มองหา Concepts ที่จะตอบคำถาม การวิจัย เชื่อมโยง Concepts ที่สัมพันธ์กัน ให้มีความหมาย บรรยายผลที่ได้ อย่างละเอียด
การหาข้อสรุป มองหาสิ่งต่อไปนี้ในข้อค้นพบ • แบบแผน (patterns) ของสิ่งที่ได้พบจากข้อมูล (findings) • ความน่าจะเป็น (probability, likelihood) • ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ (กลุ่ม, ประเภท) (relationships) • ความเหมือน ความต่าง (similarities & differences)
การตีความ ถามตัวเองว่า: • สิ่งที่ได้พบและได้สรุปมาจากการศึกษานั้น มีความหมายและสำคัญอย่างไร ทั้งในแง่ทฤษฎี และในแง่ปฏิบัติ • ข้อค้นพบจากการวิจัยนั้น มีนัยอย่างไรในเชิงนโยบาย หรือในแง่ของกิจกรรมที่น่าจะทำ
บทสรุป ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ • ศึกษาในสถานที่ที่เป็นธรรมชาติ • ศึกษาที่อิงตรรกะแบบอุปนัย • มุ่งทำความเข้าใจอย่างเป็นองค์รวม • ใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นหลัก • ติดต่อแบบมีส่วนร่วมโดยตรงกับประชากรกลุ่มเป้าหมาย
(ต่อ) • มุ่งทำความเข้าใจพลวัตของปรากฏการที่ศึกษา • ให้ความสำคัญแก่กรณีที่มีลักษณะเฉพาะ • ให้ความสำคัญแก่บริบทสิ่งที่ศึกษา • มีการออกแบบการวิจัยที่ยืดหยุ่น • ใช้เครื่องมือในการวิจัยหลากหลาย แต่นักวิจัยเป็นเครื่องมือที่สำคัญ
สรุป ควรใช้การวิจัยเชิงคุณภาพเมื่อ • ต้องการค้นหาประเด็นใหม่เรื่องใดเรื่องหนึ่ง • เมื่อต้องการเข้าใจความหมายหรือกระบวนการของการกระทำหรือปรากฏการณ์ ต้องการทราบเหตุผล(why)กระบวนการ(how)
เมื่อต้องการหาความรู้เบื้องต้นเพื่อสร้างสมมติฐานสำหรับนำไปพิสูจน์เชิงปริมาณในภายหลังเมื่อต้องการหาความรู้เบื้องต้นเพื่อสร้างสมมติฐานสำหรับนำไปพิสูจน์เชิงปริมาณในภายหลัง • เมื่อต้องการตรวจสอบหรือหาคำอธิบายสำหรับข้อค้นพบจากการวิจัยเชิงปริมาณ
สรุป ข้อพิจาณาการใช้การวิจัยเชิงปริมาณหรือคุณภาพ • พิจารณาจากโลกทัศน์ของผู้วิจัย • พิจารณาจากประสบการณ์และความชำนาญของผู้วิจัย • พิจารณาจากจิตวิทยาของผู้วิจัย
(ต่อ) ข้อพิจารณาเมื่อไหร่ควรใช้การวิจัยเชิงปริมาณหรือคุณภาพ • พิจารณาจากสภาพของปัญหา • พิจารณาจากผู้ใช้ผลงานวิจัย “อย่างไรก็ตามถ้าคิดว่าทำแล้วมีความสุข ตรงกับความสนใจ และคิดว่างานวิจัยนั้นมีคุณค่าก็ไม่จำเป็นต้องพิจารณาตามเกณฑ์ดังกล่าวก็ได้”
ขอบคุณ สวัสดีครับ