340 likes | 526 Views
ยินดีต้อนรับ ท่านปิติ แก้วสลับสี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย และ คณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์จังหวัดสุโขทัย. การประชุมคณะอนุกรรมการป้องกัน และแก้ไขปัญหาเอดส์จังหวัดจังหวัดสุโขทัยปี ๒๕๕๖. ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖. วันที ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ศาลากลางจังหวัดสุโขทัย.
E N D
ยินดีต้อนรับ ท่านปิติ แก้วสลับสี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย และ คณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์จังหวัดสุโขทัย
การประชุมคณะอนุกรรมการป้องกันการประชุมคณะอนุกรรมการป้องกัน และแก้ไขปัญหาเอดส์จังหวัดจังหวัดสุโขทัยปี ๒๕๕๖ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ศาลากลางจังหวัดสุโขทัย
ระเบียบวาระการประชุม ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานจะแจ้งให้ที่ประชุมรับทราบ ๑. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการป้องและแก้ไขปัญหาเอดส์จังหวัดสุโขทัย ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องเสนอเพื่อทราบ ๑. สภาพปัญหาเอดส์ในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย ๒. ผลการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ จังหวัดสุโขทัยของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย ๓. ผลการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ของแต่ล่ะหน่วยงาน ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องอื่นๆ
Thai National HIV/AIDS Strategy 2012 - 2016 แผนยุทธศาสตร์เอดส์แห่งชาติ ปี 2555 - 2559
สถานการณ์โรคเอดส์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย วันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๖
สภาพปัญหาเอดส์ในจังหวัดสุโขทัยสภาพปัญหาเอดส์ในจังหวัดสุโขทัย สถานการณ์เอดส์ในพื้นที่แยกรายอำเภอจังหวัดสุโขทัย
สถานการณ์โรคเอดส์ ผู้ป่วยเอดส์และผู้ติดเชื้อที่มีอาการสะสม จำนวน 4,557 แยกเป็น อัตราส่วน ชาย : หญิง 3 : 1 ผู้ป่วยเอดส์จำนวน 3,057 ราย ยังมีชีวิตอยู่ จำนวน 2,298รายเสียชีวิต 759 ราย ผู้ติดเชื้อที่มีอาการจำนวน 1,500 รายมีชีวิตอยู่ จำนวน 1,384 ราย เสียชีวิต 116 ราย ส่วนใหญ่เป็นวัยทำงาน อายุระหว่าง 30-34 ปีมากที่สุดร้อยละ 26.46 รองลงมาอายุ 25-29 ปี ร้อยละ 22.63 อาชีพที่พบมากคือกลุ่มอาชีพรับจ้างทั่วไปร้อยละ 47.61 ปัจจัยเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยมากที่สุด ร้อยละ 91.55 พื้นที่ที่พบผู้ป่วยโรคเอดส์ ที่มีอัตราป่วยมากสุดที่สุดคือ อำเภอทุ่งเสลี่ยม รองลงมาได้แก่ อำเภอสวรรคโลกและอำเภอศรีสัชนาลัย
อัตราป่วยด้วยโรคเอดส์และอัตราผู้ติดเชื้อที่มีอาการ จังหวัดสุโขทัย ปี 2552-2556 Source: รง.506/1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย
การดำเนินงานแก้ไขปัญหาเอดส์การดำเนินงานแก้ไขปัญหาเอดส์ 1.การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอดส์ 2.การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง 3.การพัฒนาคุณภาพด้านการรักษาผู้ป่วยเอดส์และผู้ติดเชื้อ 4.การบูรณาการดำเนินงานเอดส์กับหน่วยงานอื่นๆ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
1.การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอดส์1.การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอดส์ โดยการเจาะเลือดในกลุ่มเสี่ยงได้แก่ -หญิงตั้งครรภ์ -หญิงขายบริการทางเพศ-กลุ่มโลหิตบริจาค
อัตราติดเชื้อเอดส์ ในกลุ่มหญิงขายบริการทางเพศ หญิงตั้งครรภ์ และโลหิตบริจาค ปี 2553-2555
2.การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง2.การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง • สุ่มสัมภาษณ์นักเรียนมัธยมศึกษา ชายหญิง ชั้น ม.๒ ม.๕ และระดับ ปวช.2 เรื่อง พฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย สัมภาษณ์หญิงขายบริการทางเพศพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย (โดยใช้แบบสัมภาษณ์ของสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข)
ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัยของกลุ่มนักเรียนชั้น ม.2 ,ม5ระดับชั้น ปวช.2และหญิงขายบริการทางเพศจากการทำแบบสัมภาษณ์
การพัฒนาคุณภาพบริการดูแลรักษา ผู้ป่วยเอดส์และผู้ติดเชื้อ • การพัฒนาคุณภาพบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี / เอดส์ผู้ใหญ่เด็ก(โปรแกรมHIVQUAL – T)เพื่อดูแลคุณภาพบริการของโรงพยาบาล • การใช้โปรแกรม NAP DAR ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยเอดส์และผู้ติดเชื้อรวมถึงผู้ป่วยที่ขาดการรักษาหรือรับยาไม่ต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี / เอดส์ผู้ใหญ่เด็ก(โปรแกรมHIVQUAL – T)
ด้านการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้านการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ผ่าน web site และ Facebookwww.skto.moph.go.th(เว็บไซต์ของสำนักสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย)
การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สร้างความตระหนัก เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการปรึกษาเพื่อตรวจหาเชื้อเอชไอวีประชาชน นักเรียนนักศึกษา และกลุ่มเสี่ยง
จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผ่านทาง web site และ Facebook
การบูรณาการงานเอดส์ ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ การรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ในวันสำคัญ วันเอดส์โลก วัน 1 ธันวาคม วันวาเลนไทน์ วันที่ 14 กุมภาพันธ์
ประสานกับหน่วยงานต่างๆ จัดกิจกรรมดำเนินงาน ด้านเฝ้าระวังป้องโรคเอดส์
จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้โรคเอดส์กับผู้ต้องขังในเรือนจำจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้โรคเอดส์กับผู้ต้องขังในเรือนจำ
จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้นักเรียน และกลุ่มเสี่ยง
จัดรณรงค์วันเอดส์โลกร่วมกับเทศบาลเมืองสุโขทัยให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยงที่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ จัดรณรงค์วันเอดส์โลกร่วมกับเทศบาลเมืองสุโขทัยให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยงที่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ
โรงพยาบาลจัดอบรมให้ความรู้โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลจัดอบรมให้ความรู้โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเสี่ยง
จัดประชุมเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอดส์,NGO ,กลุ่มผู้ติดเชื้อโรงพยาบาล และสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย
จัดรณรงค์วันเอดส์โลกร่วมกับเทศบาลเมืองสุโขทัยประกวดสาวประเภท 2 โดยให้ตอบคำถามเกี่ยวกับโรคเอดส์คนละ 1 ข้อ
จัดอบรมครูโครงการเพศวิถีสอนเพศศึกษาร่วมกับสพม.๓๘และองค์กร PATH เมื่อวันที่ ๒๕ – ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๖ มีครูเข้าร่วมโครงการ ๒๘ คน จาก ๔ โรงเรียน
จัดอบรมครูโครงการเพศวิถีสอนเพศศึกษาร่วมกับสพม.๓๘และองค์กร PATH เมื่อวันที่ ๒๕ – ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๖ มีครูเข้าร่วมโครงการ ๒๘ คน จาก ๔ โรงเรียน
กิจกรรมที่อยู่ระหว่างการดำเนินงานปี ๒๕๕๖ • การทำการเฝ้าระวังการติดเชื้อ HIV โดยการเจาะเลือดในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ หญิงขายบริการทางเพศ (มิถุนายน ถึง กรกฎาคม ) • การทำ การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโดยการตอบแบบสอบถามกับเครื่อง PALM ในกลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีที่ ๕ และระดับชั้น ปวช. ๒ (มิถุนายน ถึง กรกฎาคม ) • ๓. ร่วมกับสพม.๓๘ และองค์กร PATH ติดตามนิเทศโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการเพศวิถีศึกษา นำร่อง ๔ โรงเรียน (สุโขทัย สวรรค์อนันต์ คีรีมาศ และอุดมดรุณี เริ่มนิเทศติดตาม กรกฎาคม ถึงกันยายน ๒๕๕๖
ขอขอบคุณ Thank you for your attention