530 likes | 702 Views
ยินดีต้อนรับ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยแม่โจ้. วันอังคารที่ 4 สิงหาคม 2552. ระบบบริหารงานบุคคล. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. ส่วนพัฒนาทรัพยากรบุคคล. http://www.hrd.kmutt.ac.th. ระบบบริหารงานบุคคลหลักการพื้นฐานใน พ.ร.บ.
E N D
ยินดีต้อนรับ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ วันอังคารที่ 4 สิงหาคม 2552
ระบบบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ส่วนพัฒนาทรัพยากรบุคคล http://www.hrd.kmutt.ac.th
ระบบบริหารงานบุคคลหลักการพื้นฐานใน พ.ร.บ. 1. ใช้ระบบบุคคลคู่ขนาน มีทั้งข้าราชการและพนักงาน การเปลี่ยนสภาพจากข้าราชการเป็นพนักงาน เป็นไปตามความสมัครใจ มีการประเมินช่วงเวลาปลายเปิด มาตรา 63 ข้าราชการ…ผู้ใดสมัครใจจะเปลี่ยนไปพนักงาน….ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้แสดงความจำนงเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชา และจะต้องผ่านการคัดเลือกหรือการประเมินตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด
2. รักษาสิทธิประโยชน์ของข้าราชการที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนักงาน มาตรา 63 …. ให้ผู้ซึ่งเปลี่ยนไปเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของมหาวิทยาลัยตามวรรคหนึ่งได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง หรือค่าตอบแทนที่ข้าราชการผู้นั้นเคยได้รับจากส่วนราชการ และได้รับสวัสดิการ และประโยชน์อย่างอื่น ที่ข้าราชการผู้นั้นหรือลูกจ้างผู้นั้นเคยได้รับจากส่วนราชการ 3. การประกันสิทธิของพนักงาน มาตรา 11 กิจการของมหาวิทยาลัยไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่พนักงานและลูกจ้างของมหาวิทยาลัยต้องได้รับประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
การเตรียมการและการดำเนินงานเมื่อเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับการเตรียมการและการดำเนินงานเมื่อเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ มหาวิทยาลัยตั้งคณะทำงาน 7 ชุด เพื่อดำเนินการ 1. กลุ่มแผนงานและบริหารงานบุคคล 2. กลุ่มการเงิน ทรัพย์สินและพัสดุ 3. กลุ่มเชิงบริหาร 4. กลุ่มเชิงวิชาการ 5. กลุ่มสวัสดิการ 6. กลุ่มกิจการนักศึกษา 7. กลุ่มบริการสารสนเทศ
คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2542 ในเรื่องการสนับสนุนด้านเงินเดือนและสวัสดิการ ดังนี้ : • สำนักงบประมาณจะจัดสรรเงินเพิ่มให้เท่ากับ 60% ของเงินเดือนเดิม(เงินเดือนข้าราชการ) เพื่อใช้ในการเพิ่มเงินเดือน และจ่ายค่าสวัสดิการเฉพาะในด้านการสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ค่ารักษาพยาบาลและค่าเล่าเรียนบุตร
สำนักงบประมาณจะจัดสรรเงินให้เพิ่มเติม สำหรับค่าสวัสดิการที่กำหนดโดยกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
กลไกการบริหารระบบบุคคลกลไกการบริหารระบบบุคคล 1. ข้าราชการ คณะอนุกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (อ.ก.พ.อ.) 2. พนักงาน คณะกรรมการบริหารงานบุคคล คณะกรรมการบริหารงานบุคคลมีองค์ประกอบของคณะกรรมการเช่นเดียวกับ อ.ก.พ.อ. แต่เพิ่ม - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ (2) - ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (2) - ผู้แทนพนักงาน
ระเบียบบริหารงานบุคคล ออกตามความในมาตรา 18 วรรค 10 มาตรา 18 สภามหาวิทยาลัยมีอำนาจหน้าที่… ดังนี้ (10) ออกข้อบังคับว่าด้วยการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่งการกำหนดอัตราเงินเดือนค่าจ้าง ค่าตอบแทน สวัสดิการ และประโยชน์อย่างอื่น การบรรจุและแต่งตั้ง การให้ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้าง การออกจากงาน ระเบียบวินัย การลงโทษ การร้องทุกข์ และการอุทธรณ์การลงโทษของพนักงานและลูกจ้าง
3. หลักประกันเรื่องการอุทธรณ์ร้องทุกข์ คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธาน - ผู้แทนผู้บริหาร (3) - ผู้แทนพนักงาน (3) - ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (3)
พนักงานและลูกจ้าง พนักงานและลูกจ้างมี 2 กลุ่ม 1. ตำแหน่งทางวิชาชีพ ได้แก่ - ตำแหน่งทางวิชาการ กลุ่มวิชาการ (ว) - ตำแหน่งทางวิชาชีพอื่นๆ กลุ่มสนับสนุนวิชาการ (สว) กลุ่มบริหารและสนับสนุน (บ-จ-พ) 2. ตำแหน่งบริหาร
โครงสร้างเงินเดือนค่าตอบแทนโครงสร้างเงินเดือนค่าตอบแทน • - จ้างบริษัทที่ปรึกษาธุรกิจ Arthur Andersen จำกัด จัดทำ • - ตุลาคม 2548 ปรับปรุงโครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนและค่าตอบแทนพนักงานมหาวิทยาลัย : มจธ. ดำเนินการจัดทำเอง • - 2551 อยู่ระหว่างปรับปรุงโครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนและค่าตอบแทนพนักงานมหาวิทยาลัย : มจธ. ดำเนินการเอง
1 2 3 4 โครงสร้างตำแหน่ง และอัตราเงินเดือน ผู้บริหารมหาวิทยาลัย 1. อธิการบดี 2. รองอธิการบดีอาวุโส 3. รองอธิการบดี/คณบดี/ผู้อำนวยการสำนัก 4. ผู้ช่วยอธิการบดี/รอง คณบดี/หัวหน้าภาควิชา/ประธานสายวิชา หรือเทียบเท่า
โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มวิชาการโครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มวิชาการ
ว6 ว5 ว4 ว3 ว2 ว1 โครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนพนักงานกลุ่มวิชาการ (ว) อ. นักวิจัย ผศ./ผศ.วิจัย รศ./รศ.วิจัย ศ./ศ.วิจัย รศ./รศ.วิจัย ศ./ศ.วิจัย ว พิเศษ อ. นักวิจัย ผศ./ผศ.วิจัย รศ./รศ.วิจัย ป.เอก อ. นักวิจัย ผศ./ผศ.วิจัย ป.โท อ. นักวิจัย อ. นักวิจัย
โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มสนับสนุนวิชาการ (สว) ระดับ 1-4 ครูปฏิบัติการ นายช่างเทคนิค ระดับ 5 ครูปฏิบัติการชำนาญการ นายช่างเทคนิคชำนาญการ ระดับ 2-5 นักทรัพย์สินทางปัญญา มัณฑนากร นักสารสนเทศ นักคอมพิวเตอร์ นักวิทยาศาสตร์ นักคอมพิวเตอร์ สถาปนิก วิศวกร นักบรรณสารสนเทศ ผู้ช่วยนักวิจัย ครู (มีใบประกอบวิชาชีพ) นักบริหารจัดการเทคโนโลยีเชิงธุรกิจ ระดับ 6-7 ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
สว6 สว5 สว7 สว4 สว3 สว2 สว1 โครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนพนักงานกลุ่มสนับสนุนวิชาการ (สว) เชี่ยวชาญพิเศษ เชี่ยวชาญ ชำนาญการ (ครู/ นายช่างเทคนิค) ปเอก ป.ตรี/ป.โท ปวส.
โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุนโครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน ระดับ บหมายถึง พนักงานในกลุ่มบริหารและสนับสนุน ประเภทผู้บริหารในสายวิชาชีพ ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางด้านบริหาร และหมายรวมถึงพนักงานในกลุ่มบริหารและสนับสนุน ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับชำนาญการที่เทียบระดับได้เท่ากับผู้บริหารด้วย ระดับ จหมายถึง พนักงานในกลุ่มบริหารและสนับสนุน ประเภทจัดการในสายวิชาชีพ โดยเป็นตำแหน่งที่ปฏิบัติงานซึ่งต้องใช้ความรู้ในระดับปริญญาทางวิชาการปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่ง ระดับ พหมายถึง พนักงานในกลุ่มบริหารและสนับสนุน ประเภทพนักงานทั่วไปในสายวิชาชีพ โดยเป็นตำแหน่งที่ปฏิบัติงานสนับสนุนงานปฏิบัติการและวิชาการของมหาวิทยาลัย ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา
บ 4 บ 3 บ 2 บ 1 โครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (บ) ผู้อำนวยการอาวุโส ผู้ชำนาญการอาวุโส ผู้อำนวยการ ผู้ชำนาญการ 3 หัวหน้างานอาวุโส ผู้ชำนาญการ 2 หัวหน้างาน ชำนาญการ 1 จ4
เงินประจำตำแหน่งบริหารเงินประจำตำแหน่งบริหาร
โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุนโครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน พนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (ระดับ จ) ระดับ 1-3 นักจิตวิทยา นักวิชาการเกษตร นักโสตทัศนูปกรณ์ พยาบาล นักบริการการศึกษา นักวิเทศสัมพันธ์ นักบริหารงานบุคคล นิติกร นักบริหารงานทั่วไป นักบริหารการเงิน นักบัญชี นักพัสดุ นักประชาสัมพันธ์ ผู้ตรวจสอบภายใน นักสาธารณสุข นักวิเคราะห์แผนและงบประมาณ ระดับ 4 นักจิตวิทยาอาวุโส นักวิชาการเกษตรอาวุโส นักโสตทัศนูปกรณ์อาวุโส พยาบาลอาวุโส นักบริการการศึกษาอาวุโส นักวิเทศสัมพันธ์อาวุโส นักบริหารงานบุคคลอาวุโส นิติกรอาวุโส นักบริหารงานทั่วไปอาวุโส นักบริหารการเงินอาวุโส นักบัญชีอาวุโส นักพัสดุอาวุโส นักประชาสัมพันธ์อาวุโส ผู้ตรวจสอบภายในอาวุโส นักสาธารณสุขอาวุโส นักวิเคราะห์แผนและงบประมาณอาวุโส
จ 4 จ 3 จ 2 จ 1 โครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือน พนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (จ) บ1 ปเอก ป.ตรี/ป.โท
โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุนโครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน พนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (ระดับ พ) ระดับ 1-3 พนักงานช่วยบริหาร พนักงานโสตทัศนูปกรณ์ พนักงานช่วยบริหาร ระดับ 4 พนักงานช่วยบริหารอาวุโส พนักงานโสตทัศนูปกรณ์อาวุโส พนักงานช่วยบริหารอาวุโส
พ 4 พ 3 พ 2 พ 1 โครงสร้างอัตราเงินเดือนพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (พ)
พนักงานและลูกจ้างมี 3 ประเภท 1.1 พนักงานแบบไม่ประจำ 1.2 พนักงานแบบประจำ 1.3 ลูกจ้าง
การเชิญชวนและให้โอกาสในการเปลี่ยนสภาพ ยื่นใบสมัคร หน่วยงาน จัดเตรียมเอกสาร ผู้สนใจ ส่วนพัฒนาทรัพยากรบุคคล คณะกรรมการประเมิน คณะกรรมการบริหารงานบุคคลอนุมัติ ให้ออก
? จะได้อะไรจากการสมัครเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการซึ่งเปลี่ยนสภาพเป็นพนักงานของมหาวิทยาลัย ถือเป็นการให้ออกจากราชการเพราะทางราชการยุบ หรือเลิกตำแหน่ง จะได้บำเหน็จ บำนาญ เร็วกว่าปกติ ทั้งผู้ที่อยู่ในระบบบำเหน็จบำนาญและระบบ กบข. จะได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน รวมกันแล้วไม่น้อยกว่าเงินเดือน ค่าจ้างหรือค่าตอบแทน ที่ข้าราชการผู้นั้นเคยได้รับจากส่วนราชการ และจะได้รับสวัสดิการและผลประโยชน์อย่างอื่น รวมกันแล้วไม่น้อยกว่าที่ข้าราชการผู้นั้นเคยได้รับจากส่วนราชการ
การเชิญชวนและให้โอกาสในการเปลี่ยนสภาพ (ระยะเวลา 5 ปี นับจากวันที่ พ.ร.บ. ประกาศใช้) ข้าราชการที่ประเมินผ่าน เปลี่ยนสภาพเป็นพนักงานประจำตามสัญญาจ้าง 3 ปี โดยไม่ต้องผ่านการทดลองงาน ข้าราชการที่ประเมินไม่ผ่าน ให้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งเดิมอย่างน้อย 1 ปี ผู้บังคับบัญชาจัดให้มีการพัฒนา ฝึกอบรม สร้างความพร้อม เพื่อขอรับการประเมินใหม่ ให้โอกาสอีก 3 ครั้งในเวลา 5 ปี ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งวิชาการก่อนเปลี่ยนสภาพยังดำรงตำแหน่งวิชาการนั้นต่อ เมื่อเป็นพนักงาน ได้ค่ารักษาพยาบาลรวมถึงบุคคลในครอบครัว
การปรับเงินเดือนของขรก.ที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนง.มหาวิทยาลัยการปรับเงินเดือนของขรก.ที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนง.มหาวิทยาลัย ประเภท การปรับเงินเดือน ข้าราชการสาย ก. เงินเดือนเดิม X 1.6 ข้าราชการสาย ข. และ ค. เงินเดือนเดิม X 1.5 (ตำแหน่งที่ใช้วุฒิปริญญาตรีขี้นไป) ข้าราชการสาย ข. และ ค. เงินเดือนเดิม X 1.25 (ตำแหน่งที่ใช้วุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี) สำหรับข้าราชการที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนักงานหลังวันที่ 2 ตุลาคม 2548 ให้ใช้วิธีเจรจาเงินเดือน ทั้งนี้ให้เทียบเคียงกับพนักงานในระบบที่ใกล้เคียงกัน โดยจะต้องได้รับเงินเดือนไม่เกินกว่าพนักงานที่เปลี่ยนสภาพมาก่อน
การบรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยการบรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย 1. อายุ 18 ถึง 60 ปี , หลังจากนั้นจ้างทีละหนึ่งปีถึง 65 ปี , หลังจากนั้นอนุมัติโดยสภามหาวิทยาลัย 2. สัญญาจ้าง สัญญาแรก เป็นสัญญาพนักงานทดลองงานกำหนดเวลา 2 ปี สัญญาที่สอง เป็นสัญญาพนักงานประจำตามสัญญาจ้าง กำหนดเวลา 3 ปี หลังจากนั้นอาจเป็นสัญญาพนักงานประจำตามสัญญาจ้าง ไม่กำหนดเวลา หรือเป็นสัญญาจ้าง 3 ปีอีกต่อไป
การประเมินพนักงาน 1. การประเมินพนักงานมี 3 ชนิด - ประเมินเพื่อปรับเงินเดือน - ประเมินเพื่อสมัครเข้าเป็นพนักงาน - ประเมินต่อสัญญาจ้าง 2. มีเกณฑ์กำหนดลักษณะงาน และเกณฑ์การคิดน้ำหนักของงาน รวมทั้งการประเมินเชิงคุณภาพ ใช้ในการประเมินพนักงาน 3.การประเมินข้าราชการเพื่อเลื่อนขั้นเงินเดือนใช้เกณฑ์การประเมินเดียวกับพนักงาน โดยยึดหลักว่าบุคคลที่ทำงานในตำแหน่งวิชาชีพเดียวกัน ต้องทำงานเหมือนกัน การเลือกเป็นข้าราชการหรือพนักงาน (รวมทั้งเงินเดือนและสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ) เป็นสิทธิส่วนบุคคล
การประเมินพนักงานกลุ่มวิชาการ (ว)1. การประเมินด้านวิชาการ 5 กลุ่ม 1.1) งานสอน 1.2) งานวิชาการ 1.3) งานบริหาร 1.4) งานบริการอื่น ๆ 1.5) การหาทรัพยากรให้แก่มหาวิทยาลัย2. การประเมินคุณลักษณะเฉพาะตัวและผลงานอื่นๆ
สัดส่วนภาระงานของแต่ละระดับตำแหน่งอาจารย์ ผศ. รศ. ศ.
สัดส่วนภาระงานของแต่ละระดับตำแหน่งนักวิจัย ผศ.วิจัย รศ.วิจัย ศ.วิจัย
การประเมินตำแหน่งวิชาชีพอื่นๆ1. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2. การประเมินคุณลักษณะในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะเฉพาะตัว แบบประเมินตำแหน่งวิชาการ1. ผู้บริหารระดับสูง2. ผู้บริหารระดับกลางที่งานเน้นในด้านบริหาร3. ผู้บริหารระดับกลางที่งานเน้นในด้านวิชาการ4. อาจารย์ที่ไม่ดำรงตำแหน่งบริหาร แบบประเมินตำแหน่งวิชาชีพอื่นๆ มี 3 แบบใช้สำหรับ1. ผู้บริหารระดับสูง2. ผู้บริหารระดับกลาง3. ระดับปฏิบัติงาน
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ พนักงานมหาวิทยาลัย • สิทธิจากเงินบำเหน็จบำนาญ (สำหรับ ขรก.ที่เปลี่ยนสภาพ อายุราชการเกิน 10 ปี เลือกได้) • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (พนักงาน 4-8% มหาวิทยาลัย 8%) • เงินบำเหน็จ (สำหรับ พนง.เปลี่ยนสภาพที่ไม่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ) • เงินชดเชยกรณีเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด • เงินทดแทนจ่ายให้เมื่อเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงาน • ค่ารักษาพยาบาลของพนักงานและบุคคลในครอบครัว • ค่าทำฟัน • การตรวจสุขภาพประจำปี • การประกันอุบัติเหตุ • ค่าเล่าเรียนบุตร • สิทธิบุตรเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ มจธ. • สวัสดิการงานศพ (เจ้าภาพงานศพ ,พวงหรีด, รถ) • เงินช่วยพิเศษกรณีถึงแก่ความตาย
พนักงานแบบไม่ประจำและลูกจ้างมหาวิทยาลัยพนักงานแบบไม่ประจำและลูกจ้างมหาวิทยาลัย • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (ลูกจ้าง 2-3% มหาวิทยาลัย 2-3%) • เงินชดเชยกรณีเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด • เงินทดแทนจ่ายให้เมื่อเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงาน • ค่ารักษาพยาบาลของลูกจ้าง • ค่าทำฟัน • ค่าคลอดบุตรตามการจ่ายจริงตามระเบียบฯ ไม่เกิน 3 ครั้ง • ค่าคลอดบุตรสำหรับลูกจ้างชาย เหมาจ่ายไม่เกิน 2 ครั้งๆ ละ 6,000 บาท/ครั้ง • (ถ้าสามีและภรรยาเป็นพนักงานแบบไม่ประจำและลูกจ้างทั้งคู่ ไม่ให้ใช้สิทธิซ้ำซ้อนกัน) • การตรวจสุขภาพประจำปี • การประกันอุบัติเหตุ • สวัสดิการงานศพ (พวงหรีด) • เงินช่วยพิเศษกรณีถึงแก่ความตาย
เอกสิทธิ์สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยสิทธิจากเงินบำเหน็จ บำนาญ • เมื่อเปลี่ยนสภาพจะได้รับสิทธิในเรื่องเงินบำเหน็จ บำนาญในทันที • หากมีอายุราชการ 1- 9 ปี จะได้รับบำเหน็จ • อายุราชการตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป เลือกรับบำเหน็จหรือบำนาญ • โดยปกติ ข้าราชการที่ขอลาออกจากราชการ • อายุราชการไม่ถึง 10 ปี จะไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จ • อายุราชการไม่ถึง 25 ปี จะไม่มีสิทธิได้รับบำนาญ สิทธิในการสมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานมหาวิทยาลัยสามารถสมัครเข้าเป็นสมาชิกของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเพื่อทดแทนกองทุน กบข. หลักการคล้ายกับระบบเงินบำเหน็จของกองทุน กบข. แต่จะไม่มีระบบบำนาญให้เลือกรับ
ตารางเงินสะสมและสมทบของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตารางเงินสะสมและสมทบของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานสะสม 4–8% ของเงินเดือนพนักงาน มหาวิทยาลัยสมทบ 8% ของเงินเดือนพนักงาน รวม 12 -16% ของเงินเดือนพนักงาน
ตารางการได้รับยกเว้นภาษีตารางการได้รับยกเว้นภาษี
ผลประโยชน์จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพผลประโยชน์จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพิ่มค่า ……… ตามเวลาทำงานที่เพิ่มขึ้น เมื่อพนักงานมหาวิทยาลัยที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพลาออกจากงาน หรือ พ้นจากงานโดยไม่มีความผิด พนักงานจะได้รับเงินสะสมและเงินสมทบพร้อมผลประโยชน์จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ให้เป็นสวัสดิการ อายุงานเงินสมทบพร้อมผลประโยชน์ (ร้อยละ) น้อยกว่า 1 ปี 0 ตั้งแต่ 1 ปี แต่ไม่ถึง 2 ปี 40 ตั้งแต่ 2 ปี แต่ไม่ถึง 3 ปี 50 ตั้งแต่3 ปี แต่ไม่ถึง 4 ปี 60 ตั้งแต่ 4 ปี แต่ไม่ถึง 5 ปี 80 ตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป 100
สิทธิพิเศษ……….. เฉพาะพนักงานมหาวิทยาลัย ที่เปลี่ยนสภาพมาจากข้าราชการ ข้าราชการที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนักงาน เมื่อเกษียณอายุหรือเสียชีวิต มีสิทธิได้รับเงินสมทบเต็มจำนวนโดยไม่ต้องคำนึงถึงอายุงานเหมือนในกรณีทั่วๆไป (นอกเหนือจากที่ได้รับการยกเว้นภาษีในส่วนของสิทธิประโยชน์)
ผลประโยชน์จากเงินชดเชยผลประโยชน์จากเงินชดเชย ยิ่งนาน ……… ผลประโยชน์ยิ่งเพิ่ม เพื่อเป็นผลประโยชน์ตอบแทนแก่พนักงานในกรณีเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด มหาวิทยาลัยจะจัดสรรเงินชดเชยให้โดยอิงกับอายุการทำงาน สูงสุดถึง 10 เท่าของอัตราค่าจ้างเดือนสุดท้าย ตารางการจ่ายเงินชดเชย
พิเศษ !!! เฉพาะพนักงานมหาวิทยาลัย ความคุ้มครองกรณีทุพพลภาพหรือเสียชีวิต พนักงานจะได้รับความคุ้มครองในกรณีสูญเสียอวัยวะของร่างกาย ทุพพลภาพ รวมถึงสูญหายหรือเสียชีวิต เนื่องจากการทำงานหรือเกี่ยวเนื่องกับการทำงานให้มหาวิทยาลัย เป็นวงเงินถึง 60% ของเงินเดือน แต่ไม่ต่ำกว่า 2,000 บาท และไม่เกิน 9,000 บาทต่อเดือน ระยะเวลาจ่ายเงินทดแทนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยว่าด้วยเงินทดแทน พ.ศ. 2542 ข้าราชการ ถ้าสูญเสียอวัยวะของร่างกาย ทุพพลภาพ เนื่องจากการทำงาน จะได้รับเงินทำขวัญ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง พ.ศ. 2516 ซึ่งมีอัตราการจ่ายน้อยกว่าข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาล พนักงานและครอบครัวจะได้รับความคุ้มครองในเรื่องค่ารักษาพยาบาลค่าอาหาร ค่าห้อง รวมถึงค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในกรณีที่เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลของรัฐบาลและของเอกชน ทั้งนี้ พนักงานมหาวิทยาลัยจะได้รับความคุ้มครองดังกล่าว มากกว่า ที่ข้าราชการได้รับ ทั้งในส่วนของสถานพยาบาลของรัฐบาลและเอกชน ครอบครัว : o บิดามารดาของพนักงาน o คู่สมรส o บุตรชอบด้วยกฎหมาย (อายุไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์ ไม่มีรายได้เป็นของ ตนเองและเป็นโสด)
พนักงานและบุคคลในครอบครัวสามารถเข้ารักษาเป็นผู้ป่วยใน ณ สถานพยาบาลเอกชนโดยไม่มีข้อกำหนดว่าต้องเป็นกรณีอุบัติเหตุอุบัติภัย หรือมีความจำเป็นเร่งด่วนตามที่แพทย์รับรอง - รักษาติดต่อกันถึง 30 วัน เบิกได้ครึ่งหนึ่งของจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 6,000 บาท - รักษาติดต่อกันเกิน 30 วัน ให้เบิกได้ครึ่งหนึ่งของจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินวันละ 200 บาท สำหรับการเข้ารักษาพยาบาลทั่วไปในสถานพยาบาลของรัฐบาลทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พนักงานและบุคคลในครอบครัวสามารถเบิกในส่วนของค่ารักษาพยาบาลได้ตามที่จ่ายจริง โดยไม่มีกำหนดเวลา เช่นเดียวกันกับข้าราชการ
พิเศษ ! ! ! ค่ารักษาโรคฟัน พนักงานและบุคคลในครอบครัวสามารถเบิกค่ารักษาโรคฟันได้ ดังนี้ - เบิกได้ตามที่จ่ายจริง ในสถานพยาบาลของรัฐบาล - เบิกได้ไม่เกิน 3,000 บาทต่อปี ในสถานพยาบาลของเอกชน พิเศษ ! ! ! ค่าตรวจสุขภาพทั่วไป เฉพาะพนักงาน (ไม่รวมบุคคลในครอบครัว) มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการตรวจสุขภาพทั่วไปได้ไม่เกิน 1,000 บาท/ปี
สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยที่บรรจุหลังวันที่ 7 มีนาคม 2546 สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย ที่ไม่ได้เปลี่ยนสภาพมาจากข้าราชการ แต่ได้รับการบรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ภายหลังวันที่ 7 มีนาคม 2546 จะยังคงได้รับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ เฉพาะสำหรับตนเอง รวมถึงคู่สมรสและบุตร ** บิดา มารดาจะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์นี้
เปรียบเทียบสิทธิประโยชน์เปรียบเทียบสิทธิประโยชน์ ระหว่างพนักงานมหาวิทยาลัยกับข้าราชการ • พนักงาน • - บำเหน็จ บำนาญ (ได้รับเมื่อเปลี่ยนสภาพ) • - สวัสดิการการศึกษาบุตร • - ค่ารักษาพยาบาลพนักงานและครอบครัว • - เงินทดแทน • เงินชดเชย • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • เงินช่วยค่าจัดการศพ ข้าราชการ - บำเหน็จ บำนาญ - สวัสดิการการศึกษาบุตร - ค่ารักษาพยาบาลข้าราชการและครอบครัว - เงินทดแทน