1 / 60

เรื่อง “ โรคอ้วน ” โดย พญ.ใยวรรณ ธนะมัย โรงพยาบาลเลิดสิน

โครงการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “ โรคอ้วนและการดูแลรักษา ” วันที่ 8-10 มิถุนายน 2548 ณ อาคารเฉลิมพระวีรกษัตรี ศูนย์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี. เรื่อง “ โรคอ้วน ” โดย พญ.ใยวรรณ ธนะมัย โรงพยาบาลเลิดสิน. โรคอ้วน (Obesity).

yamka
Download Presentation

เรื่อง “ โรคอ้วน ” โดย พญ.ใยวรรณ ธนะมัย โรงพยาบาลเลิดสิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสัมมนาวิชาการเรื่อง “โรคอ้วนและการดูแลรักษา”วันที่ 8-10 มิถุนายน 2548ณ อาคารเฉลิมพระวีรกษัตรีศูนย์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุจังหวัดชลบุรี เรื่อง “โรคอ้วน” โดย พญ.ใยวรรณ ธนะมัย โรงพยาบาลเลิดสิน

  2. โรคอ้วน (Obesity) โรคอ้วน คือ ภาวะที่มีไขมันสะสมในเนื้อเยื่อมากกว่าปกติ จนเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในขณะที่ภาวะน้ำหนักเกิน (Overweight) หมายถึงภาวะที่มีน้ำหนักสูงกว่ามาตรฐาน เนื่องจากมีไขมันมาก

  3. Prevalence • Overweight ทั่วโลก> 1000 ล้านคน • Obesity อย่างน้อย 300 ล้านคน Cost of obesity 2-7% of total health care costs

  4. Prevalence ของโรคอ้วน

  5. Prevalence ของโรคอ้วน

  6. Prevalence ของโรคอ้วน

  7. Prevalence ของโรคอ้วน ตามเพศชายและหญิง

  8. Prevalence ของโรคอ้วนในประเทศไทย

  9. การวินิจฉัยโรคอ้วน 1. ใช้ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index) BMI = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร)2

  10. ฝรั่ง เอเชียBMI < 18.5 18.5 = ผอม 18.5-24.9 18.5-22.9 = ปกติ 25-29.9 23-24.9 = น้ำหนักเกิน 30-34.9 25-25.9 = อ้วนระดับ 1 35-39.9 26-29.9 = อ้วนระดับ 2> 40 > 30= อ้วนอันตราย

  11. การวินิจฉัยโรคอ้วน 2. วัดเส้นรอบเอว (Waist circumference) เป็นการวัด abdominal fat ชาย เส้นรอบเอวมากกว่า 102 ซม. (40 นิ้ว) เอเชีย มากกว่า 90 ซม. (36 นิ้ว) หญิง เส้นรอบเอวมากกว่า 88 ซม. (35 นิ้ว) เอเชียมากกว่า 80 ซม. (32 นิ้ว)

  12. Waist / Hip Ratio เป็นตัวชี้นำถึงความเสี่ยงต่อโรคของคนอ้วน W / H ในเพศชาย มากกว่า 1.0 = อ้วนลงพุง ในเพศหญิง มากกว่า 0.8 = อ้วนลงพุง

  13. การวินิจฉัยโรคอ้วน 3. การวัดไขมันใต้ผิวหนัง (Skinfold thickness) ส่วนใหญ่วัดบริเวณ Triceps และ Subscapular skinfold skin fold >44 มม. ในเพศชาย และ 69 มม.ในเพศหญิง ถือว่าอ้วน

  14. ชนิดของ Obesity • Upper body (Truncal) obesity อ้วนลงพุง มี W/H > 1.0 ในเพศชาย และ W/H > 0.8 ในเพศหญิง • อ้วนบริเวณสะโพก มี W/H < 0.8 ในเพศหญิง และ W/H < 1.0 ในเพศชาย • อ้วนทั้งตัว

  15. ความสัมพันธ์ระหว่าง BMI , W/H

  16. ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักตัวกับพลังงานที่ได้รับจากอาหารและที่ใช้ไปความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักตัวกับพลังงานที่ได้รับจากอาหารและที่ใช้ไป ก. อ้วนขึ้น (positive energy) พลังงาน ที่ใช้ไป พลังงาน จากอาหาร

  17. ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักตัวกับพลังงานที่ได้รับจากอาหารและที่ใช้ไปความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักตัวกับพลังงานที่ได้รับจากอาหารและที่ใช้ไป ข. น้ำหนักตัวคงที่ (equal energy) พลังงาน ที่ใช้ไป พลังงาน จากอาหาร

  18. ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักตัวกับพลังงานที่ได้รับจากอาหารและที่ใช้ไปความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักตัวกับพลังงานที่ได้รับจากอาหารและที่ใช้ไป ค. ผอมลง (negative energy) พลังงาน จากอาหาร พลังงาน ที่ใช้ไป

  19. สาเหตุของโรคอ้วน 1. พันธุกรรม 2. สิ่งแวดล้อม - อาหาร - การขาดการออกกำลังกาย 3. จิตใจและความเครียด 4. การเจ็บป่วย - Craniopharyngioma - Cushing’s syndrome - Hypothyroidism - Insulinoma 5. ยา

  20. Medications associated with body fat weight gain Psychiatric/Neurologic Medications Antipsychotic agents: phenothiazines, olanzapine, clozapine, risperidone Mood stabilizers: lithium Antidepressants agents: tricyclics, monoamine oxidase inhibitors, selective seretonin reuptake inhibitors (SSRIs; paroxetine), mirtazapine Antiepileptic drugs: gabapentin, valproate, carbamazepine

  21. Steroid hormones Corticosteriods Progestational steroids Antidiabetes agents Insulin, Sulfonylureas, thiazolidinediones Antihypertensive agents β- And α-1 Adrenergic receptor blockers Antihistamines Cyproheptadine HIV protease inhibitors

  22. Inactivity & Overeating เป็นสาเหตุสำคัญของโรคอ้วน

  23. ภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพของโรคอ้วนภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพของโรคอ้วน Stroke Hypertension Some Cancers Heart Disease Gall Bladder Disease Hyperlipidemia Obesity Non-insulin dependent Diabetes Mellitus Gout Eating Disorders Osteoarthritis Sleep Disorders Mood Disorders

  24. All-cause mortality from several epidemiologic studies in relation to body mass index

  25. Dyslipidemia • High total cholesterol • Elevated LDL • Decreased HDL • Elevated Triglyceride

  26. Age-adjusted prevalence of high blood cholesterol according to BMI

  27. Age-adjusted prevalence of low HDL-cholesterol according to BMI

  28. Type 2 DM Risk of diabetes according to body mass index among a cohort of US women (age 30-55) in 1976 and followed for 8 years

  29. Metabolic syndrome Abdominal obesity (Waist circumference) Men>102 cm (>40 in.) Women >88 cm (>35 in.) HDL Cholesterol Men<40 mg/dl Women<50 mg/dl Triglyceride≥150 mg/dl Fasting glucose≥110 mg/dl Blood pressure≥130/85 mmHg

  30. ObesityInsulin Resistance • Established links: • Visceral adiposity • Cellular defects in insulin signaling • Hypertrophic fat cells • Increased free fatty acids • Mitochondrial dysfunction

  31. Adiponectin: A“Good” fat-derived hormone • Secreted by adipocytes • Abundant in blood • Reduced in obesity/ T2DM/ CVD • Specific receptors in many tissues • Liver • Skeletal muscles

  32. What regulates Adiponectin? • No diurnal variation • Weight loss increases adiponectin in blood • Decreased in T2DM, obesity, and particularly visceral obesity • Exercise does not change adiponectin • TZD’s are pharmalogical activators

  33. Adiponectin • Increased fat oxidation • Improved insulin action in liver and skeletal muscle • Antiatherogenic/ anti-inflammatory

  34. TZD treatmentis associated with increased Adiponectin & improved insulin sensitivity

  35. Hypertension <25 25-26 25-26 >30 <25 25-26 25-26 >30

  36. Coronary Heart Disease,CHF คนอ้วนมีโอกาสเกิดโรคหัวใจมากกว่าคนปกติ 4 เท่า สาเหตุของการเกิดโรคหัวใจ • การสร้าง Triglyceride จากตับเพิ่มขึ้น • การสร้าง PAI-1 เพิ่มขึ้น • เพิ่ม Capillary bed และ blood flow • เพิ่ม Cytokine เพิ่ม CRP

  37. Gall Bladder Disease พบ Gall stone มากขึ้นในคนอ้วนมากกว่าปกติ 3 เท่า จากการสร้างโคเลสเตอรอลและขับออกทางน้ำดีเพิ่มขึ้น

  38. Cancer

  39. Osteoarthritis การที่มี BMI เพิ่มขึ้น ทำให้อัตราการเกิด OA ใน weight bearing joints เพิ่มขึ้น เช่น Knee joints, Hips“ นอกจากนี้คนอ้วนมักมีกรดยูริคในเลือดสูงกว่า ปกติ มีโอกาสเกิดโรคเก๊าต์มากขึ้น

  40. Sleep apnea & Respiratory disorders คนอ้วนมีโอกาสเกิดการหยุดหายใจขณะหลับมากกว่าคนปกติ 3 เท่า เนื่องจากไขมันกระจายอยู่ตามเนื้อเยื่อของคอ เวลาหลับไขมันจะกดทับคอหอยให้แคบลง ปอดถูกเบียด ความจุของปอดลดลง

  41. Depression

  42. โรคแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์โรคแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์

  43. อันตรายต่อการผ่าตัด

  44. Evaluation of obese patients • History • Lifestyle history • Social history/family history • Psychiatric / psychologic history • Medication history • Examination BW. , Height , W.C. , BP • Lab Lipid profile , FBS

  45. Obstructive sleep apnea ตรวจวัดรอบคอ (>17 นิ้วในเพศชาย , >16 นิ้วในเพศหญิง) • ตรวจหา upper airway obstruction • วัดความดันโลหิต • Blood gas

  46. Cushing’syndrome ตรวจ Cortisol DM ตรวจ FBS, HbA1C BP, lipid profile Hypothyrodism ตรวจ TSH Gall stone ตรวจ LFT, u/s GB

  47. การรักษาโรคอ้วน • การควบคุมอาหาร • การออกกำลังกาย • การใช้ยาลดความอ้วน • การผ่าตัด

  48. การควบคุมอาหาร • ควรมีพลังงานต่ำกว่าที่ร่างกายต้องการ ผู้หญิงที่ต้องการลดน้ำหนักควรได้พลังงาน 1000-1200 kcal/d ผู้ชายที่ต้องการลดน้ำหนักควรได้พลังงาน 1200-1500 kcal/d • อาหารที่ได้รับต้องมีสารอาหารครบถ้วน • ต้องบริโภคให้ถูกสัดส่วน คาร์โบไฮเดรต : ไขมัน : โปรตีน =55: 30 : 15 • ควรบริโภคผักและผลไม้ให้มากขึ้น (มีไฟเบอร์มาก) • หลีกเลี่ยงการบริโภคน้ำตาล • งดเครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์

  49. ไขมัน 1 กิโลกรัม เท่ากับ 7700 แคลอรี

  50. อาหารที่ไม่ให้พลังงานอาหารที่ไม่ให้พลังงาน เครื่องดื่ม กาแฟ ชา น้ำมะตูม โซดา น้ำแร่ สารที่ให้ความหวานแทนน้ำตาล (แอสพาแตม) เครื่องเทศ เครื่องชูรส พริกไทย อบเชย กระเทียม

More Related