320 likes | 601 Views
แนวทางการถ่ายระดับ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานเสริมสร้างสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตามนโยบายกรมควบคุมโรค ปี 2553. สุจิตรา อังคศรีทองกุล กรมควบคุมโรค วันที่ 22 มกราคม 2553. ภาพที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะของระยะ ทิศทาง ตำแหน่ง ในการปฏิบัติการหรือสิ่งที่เราจะทำ . แผนที่.
E N D
แนวทางการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานเสริมสร้างสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตามนโยบายกรมควบคุมโรค ปี 2553 สุจิตรา อังคศรีทองกุล กรมควบคุมโรค วันที่ 22 มกราคม 2553
ภาพที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะของระยะ ทิศทาง ตำแหน่ง ในการปฏิบัติการหรือสิ่งที่เราจะทำ แผนที่ ยุทธศาสตร์ วิธีการ สำคัญที่ทำให้ไปถึงจุดหมายปลายทางที่ตั้งไว้ ดีที่สุด หรือวิธีการที่จะทำให้งานสำเร็จ
มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน) มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ภาคี) มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ) มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน)
ตั้งต้นที่วิสัยทัศน์ “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” หัวใจของความสำเร็จคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การดำเนินงาน SRM/SLM ตามนโยบายกรม • กลุ่ม NCD เป็นเจ้าภาพ แต่ใช้เครือข่ายกลุ่มงาน/กลุ่มโรคทุกกลุ่มร่วมกัน เช่นกลุ่ม สว./NCD/แมลง/SALT/ติดต่อทั่วไป /ระบาดฯฯลฯ) • พื้นที่ดำเนินการ 1 จังหวัด 1 พื้นที่ (พื้นที่ตามประเด็นปัญหาโรค หรือ มีกองทุนสุขภาพ ของอบต. (งบ PP ตำบล) หรือ รพสต. หรืออื่นๆ ไม่จำเป็นต้องโรคทาง NCD /แมลง โรคอื่นๆ ตามปัญหาได้ )(กำลังขับเคลื่อน SLM รายประเด็นของสำนักที่เหลือ ให้แล้วเสร็จเดือนมีนาคม 2553 ตามนโยบาย)
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วม ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค สร้างเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2552 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพและเป็นจริง พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม
ตัวชี้วัดความสำเร็จของนโยบาย • ตามโครงการที่แต่ละหน่วยงานกำหนด KPI ความสำเร็จ • มีและใช้โครงการแก้ไขปัญหาโรคของกรมโดยชุมชน (จากการใช้ SLM และตาราง 11 ช่อง หรือใช้ Mini-SLM ตาราง 11 ช่อง • มีมาตราการทางสังคมในการจัดการแก้ไขปัญหาโรคของกรม • มีการเฝ้าระวัง โรค หรือ สังคม หรือ พฤติกรรม หรือ สิ่งแวดล้อมในชุมชนโดยชุมชนเลือกตัวใดตัวหนึ่งได้ เป็นประเด็นในการจัดการนำ SRM/SLM สู่การปฏิบัติ
การดำเนินงาน SRM/SLM ตามนโยบายกรม • สิ่งที่ต้องทำเพิ่มเติม นโยบาย (ท่านรองสมศักดิ์) -สคร2. เพิ่มเรื่องบ่อขยะ ทีจ.สระบุรี (อาจปรับพื้นที่สระบุรี) -สคร3. เพิ่ม มาบตาพุด จ.ระยอง • ตัวชี้วัดโครงการเครือข่ายฯใน P1 ตามแนวทางกองแผน (คุณพรทิพย์ รับผิดชอบกำหนดตัวชี้วัด) • โครงการนี้กองแผนกำหนดถอดบทเรียนความสำเร็จของโครงการ ตามนโยบายเรื่องนี้ในเดือน สิงหาคม 2553(ควรกำหนดกิจกรรมให้สอดคล้องกับเวลาภาพรวมของกรม)
ประมินความสำเร็จของการใช้ SRM/SLM ตามนโยบาย • ใช้ แนวทางการประเมินนำเสนอเมื่อ วันที่ 21 มกราคม 2553 • ใช้ Model ช่วยในการประเมิน เช่น CIPP, System Model หรืออื่นๆภาพรวมกรมประเมินประสิทธิภาพ (กระบวนการนำ SLM สู่การปฏิบัติให้เห็นภาพรวมของกระบวนการทั้งหมด ใช้เวที่ติดตามทุกเดือนจาก VDO Conference และประชุมเครือข่ายเรื่องนี้ จากการถอดบทเรียนเป็นระยะ เพื่อนำเสนอเชิงนโยบายในการขับเคลื่อนเรื่องนี้ในปี 2554 ของกรมอย่างเป็นระบบ (ใช้การวิเคราะห์เชิงนโยบาย ตามกรอบแนวคิด Policy Cycle อาจให้กองแผนเป็นเจ้าภาพ หรือ เครือข่ายสว.ที่จะเกิดขึ้นใหม่) • การประเมินตามแนวทางอื่นที่ไม่ได้ขับเคลื่อนจาก SLM ไม่ใช้ในโครงการนี้
ขั้นตอนการดำเนินงาน • แต่งตั้งคณะทำงานระหว่างกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องของสคร. 1-12 กำหนดรูปแบบ แนวทางการขับเคลื่อนตามนโยบายกรม (ควรทุกกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้) • แต่งตั้งคณะทำงานระหว่างสคร. 1-12 และศูนย์อนามัยสิ่งแวดล้อม 1-12 กำหนดรูปแบบ แนวทางการขับเคลื่อนงานตามนโยบายกรม • สคร./ศูนย์อนามัยฯ ประสานจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ และถ่ายทอดทิศทางSLM /จุดหมายปลายทางและนิยามจุดหมายปลายทางของสำนักที่เป็นนโยบายหลัก
ขั้นตอนการดำเนินงาน 4. แต่งตั้งคณะทำงานระดับเขต (สคร./ศูนย์อนามัย/สสจ./สปสช.ฯลฯ) กำหนดรูปแบบ ออกแบบกระบวนการ แนวทางการทำงาน และเลือกพื้นที่ร่วมกัน) 5. สคร. 1-12 และศูนย์อนามมัยสิ่งแวดล้อม 1-12 ทบทวน SLM ของสำนักจัดทำ SLM พร้อมตาราง 11 ช่อง (ช่องที่ 1,2,3,4,6,7,11) ตามประเด็นปัญหาโรคของพื้นที่จากข้อ 2 ให้เป็นภาพรวมทางวิชาการ (เห็นกิจกรรมที่บูรณาการร่วมกัน) 6. พัฒนาวิทยากรหลักและวิทยากรกระบวนการเรื่องการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของสคร. หรือเครือข่ายตามคณะทำงานในข้อ 4
ขั้นตอนการดำเนินงาน 7. ประสานพื้นที่อบต.แจ้งทิศทางแนวทางและประโยชน์ทีอบต./ชุมชนจะได้รับ กำหนดวันและกลุ่มเป้าหมายให้อบต.ดำเนินการนัดหมาย (อาจจัดทำข้อตกลงระหว่าง อบต.) 8. จัดประชุมในพื้นที่ตามกลุ่มเป้าหมาย นำชุมชนจัดทำ SLM พร้อมตาราง 11 ช่อง และ Mini –SLM (ถ้ายังไม่ได้รับการถ่ายระดับจากอำเภอ) กำหนดผู้รับผิดชอบในระดับชุมชน ระยะเวลาประมาณ 3 วันใช้งบประมาณของสคร.(P1) ร่วมกับศูนย์อนามัย (ถ้ามี)หรือเครือข่ายอื่นๆ กรณีมี SLM ที่ถ่ายระดับ ให้ทบทวนในขั้นตอนที่ 1 กำหนดประเด็นที่จะพัฒนา และทำตาราง 11 ช่องร่วมกัน ถ้าไม่ชำนาญ ในการทำ Mini-SLM ให้ใช้ตาราง 11 ช่อง แทน
ขั้นตอนการดำเนินงาน • ติดตามพัฒนาเครือข่ายชุมชนเขียนแผนงานโครงการ(ตามตาราง 11 ช่อง กำหนดผู้รับผิดชอบของชุมชนในแต่ละเป้าประสงค์) และเปิดงานในชุมชน • กำหนดช่วงวันและเวลาติดตามงานในพื้นที่ ของเครือข่ายเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง (อาจใช้เครือข่ายจังหวัด หรืออำเภอ หรือตำบล) และกำหนดการรายงานผลในภาพรวมให้สคร.และเครือข่ายรับทราบร่วมกัน หรือลงพื้นที่เองไม่ควรต่ำกว่า 3 ครั้งละ 1-2 วัน (พิจารณาตามความเหมาะสมของพื้นที่)
ขั้นตอนการดำเนินงาน 11. อาจจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกวดผลงานในพื้นที่ระดับเขตจากผลงานของชุมชน 12.ถอดบทเรียนทุกครั้งที่ดำเนินการในพื้นที่ เพื่อได้ภาพรวมของการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางพัฒนางานในแต่ละช่วงเวลาให้ได้ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ • จากยุทธศาสตร์ที่มีอยู่แล้วเขียนเป็นแผนที่ความคิด(Mind map) • จากแผนที่ความคิด สร้างผังจุดหมายปลายทาง พร้อมคำอธิบาย • จากผังจุดหมายปลายทาง สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์
การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • จากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • สร้างแผนที่ฯฉบับปฏิบัติการ โดยเลือกทางเดินที่สั้นที่สุด สะดวกที่สุดและสิ้นเปลืองน้อยที่สุดที่จะไปให้ถึง “จุดหมายปลายทาง” • แผนที่ฯฉบับปฏิบัติการ (SLM)มีเส้นทางน้อยกว่าและระยะเวลาการใช้สั้นกว่าแผนที่ฉบับใหญ่ • จากแผนที่ฉบับนี้ สร้างแผนปฏิบัติการ • แผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) แสดงเส้นทางเดินของกิจกรรมสำคัญและตัวชี้วัดสำหรับกิจกรรมเหล่านั้น
กิจกรรมสำคัญนำไปสร้างแผนปฏิบัติการกิจกรรมสำคัญนำไปสร้างแผนปฏิบัติการ KPIต้องตอบสนองเป้าประสงค์ในช่อง 1
การทดสอบระบบปฏิบัติการบนโต๊ะ จากMini SLM ใน 2 ประเด็น
2 การนำนวัตกรรมสังคมเข้าสู่ระบบ แนวคิด • ต้องการเครื่องมือทางสังคม (เทคนิคนวัตกรรมสังคม)เพื่อสร้างบทบาทใหม่ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประชาชน เนื่องจากบทบาทดังกล่าวจะเกี่ยวเนื่องผูกพันกับมาตรการทางสังคมอย่างใกล้ชิด • ใช้เทคนิคการค้นหาศักยภาพของชุมชนโดยประชาชน เพื่อให้ประชาชน ค้นพบและเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง • ใช้เทคนิคการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของเจ้าหน้าที่และประชาชนเป็นจุดตั้งต้นของการสร้างบทบาทใหม่ของประชาชน
2 การนำนวัตกรรมสังคมเข้าสู่ระบบ (ต่อ) • การนำเทคนิคทางสังคมเข้าสู่ระบบเริ่มที่ระดับพื้นฐาน จากการปรับกระบวนทัศน์ของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย พร้อมทั้งการสร้างทักษะในการดำเนินกระบวนการทางสังคม • งานอีกชิ้นหนึ่งที่ต้องเปิดพร้อมกัน คือการปรับปรุงคลังข้อมูลให้ครอบคลุมข้อมูลทางสังคมด้วย จากนั้นจึงบูรณาการ เทคนิคทางสังคมเข้าสู่เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ โดยสร้างกลยุทธ์สำคัญด้านสังคมไว้ในกล่องเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่เห็นว่าเหมาะสม (ภาพต่อไป)
กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลยุทธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน 1 อบรมแผนที่ยุทธศาสตร์/จัดการ นวัตกรรม จัดระบบวางแผนสุขภาพชุมชน จัดระบบสื่อสาร 3 สร้างนวัตกรรมกระบวนการ PP /รูปแบบประกันสุขภาพโดยท้องถิ่น 2 ใช้กลยุทธ์พัฒนาบทบาทประชาชน สร้างและบริหารเครือข่าย จัดระบบข้อมูล
ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 1.ตั้งคณะทำงานจัดการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มีสสจ.เป็นประธาน สมาชิกมีทุกระดับตั้งแต่จังหวัด ( งานพัฒนายุทธศาสตร์ ส่งเสริมฯ ประกันสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค ฯลฯ) ถึงท้องถิ่น มีหน้าที่หลัก คือ (1) การจัดการที่เกี่ยวข้องกับแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ (2) การพัฒนาบทบาทประชาชน (3) การจัดการนวัตกรรม 2.คัดเลือกกองทุนฯต้นแบบอำเภอละ 1 แห่ง 3.ให้อำเภอตั้งคณะทำงานประกอบด้วยภาคีที่มีส่วนสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 4.ส่งวิทยากรที่คัดสรรแล้วเข้าร่วมเป็นทีมวิทยากรเขต ที่ใช้หมุนเวียนสนับสนุนจังหวัดภายในเขต (สปสช. เขต เป็นผู้จัดการ) สนับสนุนทีมวิทยากรเขตพัฒนากองทุนต้นแบบเป็นโรงเรียนสำหรับสอนกองทุนอื่นๆต่อไป กองทุนต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นโรงเรียน ต้องมีโครงการที่สามารถแสดงผลการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของประชาชนได้อย่างน้อย 3 ใน 5 โครงการต่อไปนี้ (1) โครงการเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม (2) โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) โครงการควบคุมโรคติดต่อ (4) โครงการเกี่ยวกับอาหารหรือโภชนาการ (5) โครงการอนามัยแม่และเด็กหรืออนามัย โรงเรียน
ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 7. ทุกจังหวัดจะได้รับจุดหมายปลายทางและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ร่วม (SLM) ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค ให้นำไปปรับใช้ในระดับอำเภอและตำบลตามแนวทางในภาพ “การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น” โดยให้ถ่ายระดับแผนที่ฯไปจนได้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM 8. การวางงานในระดับท้องถิ่น ให้ใช้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM” ที่สร้างจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ทำการปรับปรุงเนื้อหาของแผนงานโครงการสุขภาพของ อปท. ให้สอดคล้อง ถือเป็นเงื่อนไขหนึ่งของการมอบอำนาจจากสาธารณสุขสู่ท้องถิ่น อาจทำเป็นข้อตกลงในระดับจังหวัดถ้าจำเป็น 9.หากท้องถิ่นพิจารณาเห็นสมควร อาจใช้ตัวอย่างแผนปฏิบัติการที่แนบมา เนื่องจากได้พิสูจน์แล้วว่าสามารถทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ: ข้อเสนอจาก อจ.อมร นนทสุต ประชุมวิชาการกระทรวง สธ.ที่อุดรธานี วันที่ 27 กันยายน 2552 ที่ สปสช.19/0665 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2552
ผังแนวคิด: การสร้างงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พ.ศ. 2553 สสส. สป./กรมฯ สปสช. สำนักตรวจฯ สนย. วิทยากร SRM เขต วิทยากรSRM จังหวัด ฟื้นความรู้ พัฒนาพร้อมM&E โรงเรียน อสม. 3 แห่ง/จ.ว. สถาบันนวัตกรรม ฯ IPI M & E โครงการพัฒนา รพสต.โดยกรม สบส. วิทยากร SRM อำเภอ/ตำบล ฝึกงาน ร.ร.อสม (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) เปิดงาน โครงการฯ อสม ใช้แผนปฏิบัติการจาก SRM อปท รพสต กองทุนฯ
การถ่ายระดับแผนที่ยุทธศาสตร์จากระดับอำเภอสู่ตำบลนั้น เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ • ขั้นตอนนี้มีความสำคัญมาก เนื่องจากจะเป็นขั้นตอนหลักสำหรับกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลที่ต้องทำได้ด้วยตนเอง • แผนที่ยุทธศาสตร์ที่จะใช้ในระดับตำบลนั้นเราใช้ชื่อว่า แผนปฏิบัติการ หรืออาจจะเรียกว่าเป็น Mini-SLM
แหล่งที่มา • แผนที่ยุทธศาสตร์ในระดับอำเภอมีแหล่งที่มา 2 แหล่งคือ • จากแผนที่ยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด (แผนที่หลัก) • จากแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) จากกรมวิชาการ ซึ่งจะส่งมาเป็นรายประเด็นพร้อมตารางนิยามเป้าประสงค์เฉพาะประเด็นนั้นๆ (โปรดดูภาพต่อไป)
กระบวนการระดับอำเภอ • ปรับแผนที่ยุทธศาสตร์กรม/จังหวัดให้สอดคล้องกับบริบทของอำเภอ • การปรับเริ่มทำที่จุดหมายปลายทางก่อน • ก้าวต่อไปตามขั้นตอน หรือถ้าไม่มีแผนที่ฯกรม/จังหวัดก็ให้สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์(ฉบับหลัก)และแผนที่ฯฉบับปฏิบัติการของอำเภอพร้อมตารางนิยามวัตถุประสงค์ซึ่งปรับปรุงใหม่ มี 11 ช่อง • แต่ในระดับอำเภอจะนิยามเป้าประสงค์แต่ละข้อเพียง 6 ช่อง คือช่อง 1 2 3 4 6 7 (โปรดดูภาพตาราง 11 ช่อง)