590 likes | 966 Views
แผนสุขภาพเขต ( ทันต สาธารณสุข) เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 ปี 2557. ข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิ. จำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ. จำนวน รพ.สต.และ ศสม. ที่มีทัน ตาภิ บาล ยู นิต ทันตก รรม. แสดงจำนวน ทันตแพทย์ เฉพาะสาขาทางทันตก รรม ของสถานบริการสุขภาพ. สถานการณ์ ทันต สุขภาพ. ฟันผุในเด็กปฐมวัย.
E N D
แผนสุขภาพเขต (ทันตสาธารณสุข)เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6ปี 2557
ข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิ
จำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐจำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ
จำนวน รพ.สต.และศสม. ที่มีทันตาภิบาล ยูนิตทันตกรรม
แสดงจำนวนทันตแพทย์เฉพาะสาขาทางทันตกรรม ของสถานบริการสุขภาพ
ฟันผุในเด็กปฐมวัย เป้าหมาย <50% ในปี 2560
ฟันผุในเด็กวัยเรียน เป้าหมาย <55%
1(16) ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ
20.3 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มีความเสี่ยงฟันผุ ได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิช
24.1 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก 24.2 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับเคลือบหลุมร่องฟัน
วิสัยทัศน์ ; ปชช. มีทันตสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม ด้วยเครือข่ายบริการที่เข้มแข็ง มีคุณภาพมาตรฐาน ภายใน ปี 2559 เป้าประสงค์ : 1. ลดปัญหาทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย 2. ประชาชนรู้เท่าทันปัจจัยเสี่ยง และมีพฤติกรรมทันตสุขภาพที่เหมาะสม 3. ประชาชนได้รับบริการที่ มีคุณภาพมาตรฐานและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย ลดอัตราการตายจาก มะเร็งช่องปาก แหล่งเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพ และ ป้องกันโรค เร่งรัดการแก้ไขปัญหาการบริโภคอาหารเสี่ยงต่อทันต เพิ่มสภาวะปราศจากฟันผุในเด็กวัยเรียน เร่งรัดการลดอัตราการเกิดฟันผุในเด็กปฐมวัย ประสิทธิผล ขยายการดำเนินงานจัดบริการทันตกรรมป้องกันและอนุรักษ์ฟัน พัฒนามาตรฐานการบริการทันตกรรมใน CUP/รพ.สต. สร้างเครือข่ายความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พัฒนาการ สส.ทันตสุขภาพในกลุ่มวัยแรงงาน และ NCD ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการจัดบริการ คุณภาพบริการ บูรณาการเรื่องทันตฯในประเด็นสุขภาพสำคัญของประเทศ สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพในทุกระดับ พัฒนาระบบ คัดกรองมะเร็งช่องปาก ส่งเสริมให้เกิดนโยบายสาธารณะและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันต. พัฒนาศักยภาพ ผสอ.ในการดูแลทันตสุขภาพเด็ก ประสิทธิภาพ เร่งรัดพัฒนาทันตบุคลากรให้เป็นผู้จัดการเครือข่าย พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน พัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยี การ สส/ทป.ช่องปาก ขยายระบบข้อมูล และเฝ้าระวังทันตสุขภาพ พัฒนาองค์กร
SRM วิสัยทัศน์ : ประชาชนมีทันตสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม ด้วยเครือข่ายบริการสุขภาพที่เข้มแข็ง • เป้าประสงค์..ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรค • พัฒนาระบบเฝ้าระวังและคัดกรอง • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีชุมชน • สร้างแกนนำทันตสุขภาพในชุมชน • เป้าประสงค์.เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง. • เร่งรัดการแก้ไขปัญหาการบริโภคอาหารเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ • ส่งเสริมให้เกิดนโยบายสาธารณะ/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ • สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงต่อทันตสุขภาพในทุกระดับ ประชาชน เป้าประสงค์..แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯ • พัฒนา อสม.ให้เป็นแกนนำด้านทันตฯ • พัฒนาชมรม ผสอ.ให้มีทักษะในการดูแลทันตฯเด็ก • สนับสนุนให้เอกชน/ภาคอื่นๆร่วมจัดบริการ เป้าประสงค์..ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน • สนับสนุนการพัฒนางานวิชาการ/วิจัย • ติดตามกำกับประเมินผล • พัฒนาศักยภาพ/องค์ความรู้ เป้าประสงค์..อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ(ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข • สนับสนุนให้เกิดแผนพัฒนาทันตฯระดับตำบล • สนับสนุนทรัพยากรในการจัดบริการปฐมภูมิร่วมกับ สธ • จัดระบบติดตามกำกับประเมินผล. เป้าประสงค์..โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯ • พัฒนาการดำเนินงานในรูปแบบเครือข่าย รร. • บูรณาการ ทันตฯในการเรียนการสอน • กำหนดนโยบาย/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตฯ • พัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตฯและประเมินผล ภาคี • เป้าประสงค์.หน่วยบริการปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ/ตติยภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการทันตกรรมอย่างมีคุณภาพ • ขยายบริการปฐมภูมิ(ทันตกรรมป้องกันและอนุรักษ์ฟัน)ใน รพ.สต. และ ศสม.ให้ครอบคลุม • พัฒนามาตรฐาน/คุณภาพการจัดบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ • สนับอัตรากลัง และครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ ตามมาตรฐานทุกระดับ • เป้าประสงค์.มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล. • จัดทำมาตรฐานการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันทันตฯในระดับปฐมภูมิ • พัฒนาทักษะบุคลากรในการกำกับติดตาม และประเมินผล • พัฒนาระบบติดตามกำกับประเมินผลในทุกระดับ กระบวนการ • เป้าประสงค์..มีฐานข้อมูลทันตสุขภาพ และปัจจัยกำหนดทันตสุขภาพ • จัดทำฐานข้อมูลทันตสุขภาพของเครือข่ายบริการ • ขยายระบบข้อมูลเฝ้าระวังทันตฯในระดับตำบล • พัฒนาช่องทางการเข้าถึงแหล่งข้อมูล • พัฒนาระบบการจัดการความรู้ในด้านทันตสุขภาพ • เป้าประสงค์.ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุข • เร่งรัดในการพัฒนาให้มีทักษะในการบริหารจัดการเครือข่าย • พัฒนาทักษะในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน • พัฒนาทักษะในการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านทันตสาธารณสุข รากฐาน
แผนส่งเสริมป้องกัน เน้นหนักการแก้ไขปัญหาฟันผุเด็กปฐมวัย และวัยเรียน บริการขั้นพื้นฐานตามกลุ่มวัย และประเด็นสำคัญ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สุขภาพสตรี และทารก + BS สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS สุขภาพเด็กนักเรียน + BS สุขภาพวัยรุ่น + BS ป้องกันควบคุม NCD(DM&HT) เฝ้าระวัง และคัดกรองมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ
สตรี เด็ก 0 – 2 ปี และเด็ก 3 – 5 ปี ANC WBC ศูนย์เด็กเล็ก • ป้องกัน/บรรเทาการ • ติดเชื้อในช่องปาก • ป้องกันการส่งผ่านเชื้อ • จากแม่สู่ลูก • เตรียมพร้อมแม่ในการ • ดูแลสุขภาพช่องปากลูก • ป้องกันการเกิดฟันผุ • ปลูกฝัง/พัฒนาทักษะ • ผปค.ในการดูแลสุขภาพ • ช่องปากเด็ก • สร้างความคุ้นชินกับ • เด็ก • ป้องกัน/ลดการลุกลาม • การเกิดฟันผุ • สร้างนิสัยในการดูแล • ภาพช่องปากให้เด็ก GOAL = ฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 ในปี 2560
หญิงมีครรภ์มีอนามัยช่องปากที่ดีหญิงมีครรภ์มีอนามัยช่องปากที่ดี ลดการติดเชื้อ ลดการถ่ายทอดเชื้อ พ่อแม่ ญาติพี่น้อง ควบคุมอาหาร ชุมชน ลดคราบจุนทรีย์ สร้างการเรียนรู้ เด็กก่อนวัยเรียนปราศจากฟันผุ ทันตกรรมป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามกำกับ ผู้ดูแลเด็ก จนท. สธ
๑. แผนงานการดูแลหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๒.แผนการดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิดถึง 2 ปีอย่างมีคุณภาพ๒๓,๒๖๘,๗๕๐ บาท
๓. แผนงานการดูแลสุขภาพเด็กอายุ 3-5 ปีอย่างมีคุณภาพ ๕,๔๐๐,๐๐๐บาท
แผนงานการพัฒนาสุขภาพเด็กนักเรียนอย่างมีคุณภาพ ๑๗,๗๐๐,๐๐๐ บาท GOAL = ฟันผุไม่เกินร้อยละ 55
แผนงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวานและความดันโลหิตสูง)๒๐๐,๐๐๐ บาท
แผนพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายแผนพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย มุ่งพัฒนา 3 setting - ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาล - โรงเรียน - เครือข่ายอำเภอ และตำบล (DHS)
เป้าหมาย • ประชาชนเข้าถึงบริการทันตกรรม ร้อยละ ๒๐ • ระยะรอคอยการใส่ฟันเทียมไม่เกิน ๖เดือน • เด็กปฐมวัยมีฟันผุไม่เกินร้อยละ ๕๐
ประเด็นการพัฒนาทันตกรรมเฉพาะทาง ตามแผน พบส.และระบบการส่งต่อ • Oro- facial infection • Maxillofacial trauma • Benign and malignant tumor • Cleft lip & palate • Implant CPG คน ของ
เรื่องหารือ จาก รพ.มะเร็ง กรณีฉายรังสี • ก่อนฉายรังสี • ใครจะเป็นคนวาง treatment plan เตรียมช่องปาก • รพ.ที่ส่งตัวมาเตรียมช่องปาก ?? • หลังฉายรังสี • ส่งกลับ รพ.ต้นสังกัด / รพ.ในถิ่นอาศัยของผู้ป่วย ดูแลต่อเนื่อง/ Home care ??