1 / 9

นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (นายวิจิตร ศรีสะอ้าน พ.ศ. 2550 - 2551

นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (นายวิจิตร ศรีสะอ้าน พ.ศ. 2550 - 2551.

Download Presentation

นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (นายวิจิตร ศรีสะอ้าน พ.ศ. 2550 - 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (นายวิจิตร ศรีสะอ้าน พ.ศ. 2550 - 2551 1. เร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยยึดคุณธรรมนำความรู้2. ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ4. กระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชน และท้องถิ่น6. การพัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้

  2. นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษานโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 1. การเพิ่มปริมาณผู้เรียน 2. การจัดการเรียนการสอนของอาชีวศึกษาในโรงเรียนมัธยม 3. การเทียบโอนประสบการณ์และ VQ คุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานอาชีพ ที่นำสู่การปฏิบัติ 4. การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร 3 แนวทาง ( ผู้ใช้ ผู้ซ่อม ผู้สร้าง ) 5. ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามุ่งหวังและต้องการให้สถานศึกษาและหน่วยงานในสังกัดนำไปปฏิบัติและบูรณาการ การทำงานร่วมกันเพื่อก่อให้เกิดผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมตามแนวทางหลัก 12 ข้อ คือ

  3. นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษานโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 6. ความร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรม และสถานประกอบการ 7. การสร้างผู้ประกอบการใหม่ 8. การพัฒนาอาชีพแบบบูรณาการ 9. คุณธรรมนำชีวิต 10. ความมีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการด้านการเงิน บุคลากร และพัสดุ 11. วิธีการศึกษาดูงานของนักศึกษา ( ปวช 1 และ ปวส 1) 12. การจัดการความรู้ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามุ่งหวังและต้องการให้สถานศึกษาและหน่วยงานในสังกัดนำไปปฏิบัติและบูรณาการ การทำงานร่วมกันเพื่อก่อให้เกิดผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมตามแนวทางหลัก 12 ข้อ คือ

  4. เป้าหมายและกลยุทธ์การอาชีวศึกษาเป้าหมายและกลยุทธ์การอาชีวศึกษา 3. บริการสังคม 3.1 พัฒนาอาชีพแบบบูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน Fix It Center ถนนสายอาชีพ 3.2 เพิ่มวุฒิเกษตรกร 3.3 ต่อยอด OTOP 3.4 ฮาชีวะสีเขียว (สิ่งแวดล้อม / พลังงาน) 3.5 อาชีวะรวมพลัง (อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน /ซ่อมสร้าง โรงเรียนบ้าน/ช่วยเหลือภัยพิบัติ) 1.ปริมาณ 1.1 ยืดหยุ่น...เรียนได้ทุกสาขา ทุกที่ ทุกเวลา 1.2 มีรายได้ระหว่างเรียนมีงานทำ 1.3 เทียบโอนประสบการณ์ผู้ทำงานในสถานประกอบการ 1.4 รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้างทัศนคติ เส้นทางอาชีพ 1.5 ปรับและเพิ่มหลักสูตรใหม่ให้สอดคล้องกับโครงสร้างเศรษฐกิจ 1.6 ประสานความร่วมมือกับ สพฐ. กศน. สกอ.3 ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1.มีความรู้ความสามารถทักษะ วิชาชีพเฉพาะทาง 2.มีทักษะพื้นฐาน : สื่อสารภาษา ICT วิจัยแบบง่าย (คิดเป็น ทำเป็น) การจัดการธุรกิจ (Business Plan) 3.มีคุณธรรม จริยธรรม และบุคลิกภาพ 2. คุณภาพ 2.1 สร้างภาพลักษณ์แห่งคุณภาพการอาชีวศึกษา 2.2 ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ (เรียนรู้ และประเมินในสถานการณ์จริง) 2.3 พัฒนามาตรฐานอาชีพ ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ มาตรฐานการอาชีวศึกษา และหลักสูตรฐานสมรรถนะร่วมกับสถานประกอบการ 2.4 สร้างระบบเครือข่ายและการมีส่วนร่วมในการจัดอาชีวศึกษากับสถานประกอบการ ชุมชน ท้องถิ่น และเครือข่ายความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ 2.5 การจัดการความรู้วิชาชีพ (Knowledge Management) 2.6 ประกันคุณภาพผลผลิต ผลิตภัณฑ์ และงานบริการอาชีวะ 2.7 ขยายการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกับสถานประกอบการและชุมชน 4. สร้างผู้ประกอบการใหม่ 4.1 สร้างเครือข่ายและพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ 4.2 สร้างช่องทางการเข้าถึงแหล่งทุนและองค์ความรู้ทางธุรกิจ 4.3 หนึ่งวิทยาลัย หนึ่งธุรกิจ (One College One Company)

  5. เป้าหมายการผลิตกำลังคนการอาชีวศึกษาเป้าหมายการผลิตกำลังคนการอาชีวศึกษา • กลุ่มอุตสาหกรรม • เป้าหมาย สถานประกอบการ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิสูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน นักเรียน นักศึกษา อาชีวศึกษา ผู้ใช้ ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน ผู้สร้าง พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน)

  6. นักเรียนมัธยม ประชาชน ใช้ ซ่อม สร้าง VQ 2 VQ 3 VQ 4 VQ 5 ศึกษาต่อ สนองความต้องการชุมชนท้องถิ่น ( ช่างชุมชน ) VQ 6 VQ 7 กลุ่มเป้าหมายผู้เรียนอาชีวศึกษา กลุ่มเป้าหมาย พิเศษ คนด้อยโอกาส คนพิการ แรงงานในสถานประกอบการ เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ College shop Social shop Enterprise shop เทียบโอนประสบการณ์ การสอนทางไกล สถานประกอบการ อาชีพอิสระ 13 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย

  7. นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อขับเคลื่อนสถานศึกษา ปีการศึกษา 2550 1. การเพิ่มปริมาณผู้เรียน และสร้างระบบเทียบโอน 2. การจัดการศึกษาดูงานในสถานประกอบการ สำหรับนักเรียน - นักศึกษาใหม่ 3. การบูรณาการกิจกรรมนักเรียน – นักศึกษา ส่งเสริมคุณธรรม และความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง 4. สร้างความร่วมมือ และพัฒนาศูนย์กำลังคนระดับจังหวัด • จากการประชุมมอบนโยบาย ของ สอศ. ให้กับผู้อำนวยการ 404 แห่ง • 1 พฤษภาคม 2550 • สจพ. พระนครเหนือ

  8. นโยบาย เร่งรัด ปฏิรูปการอาชีวะศึกษาโดย ยึดหลัก “คุณธรรมนำความรู้” สร้างความตระหนัก สำนึกในคุณค่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย พัฒนานักเรียน นักศึกษาโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม เป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์และมาตรการการเสริมสร้างคุณธรรมให้นักศึกษาอาชีวะ 4 ยุทธศาสตร์ 9 มาตรการ สร้างวัฒนธรรมในสถานศึกษา 1.ปลูกจิตสำนึก สร้างเจตคติ ปรับพฤติกรรม ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาครู พัฒนาหลักสูตร สื่อ คู่มือ กระบวน การเรียนรู้ การวัดประเมินผล 2.ปรับกระบวนการเรียนรู้ หาต้นแบบสืบทอด คุณธรรมนำความรู้ พัฒนาครู สรรหาและประกาศยกย่องเชิดชู เป้าหมาย พัฒนานักเรียนนักศึกษาให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีน้ำใจ มีมนุษยสัมพันธ์ และมีความรู้ทักษะอย่างแตกฉานในวิชาชีพ โดยผ่านกระบวนการศึกษา พัฒนาและการ แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ 3.เครือข่ายขยายผล เผยแพร่งานคุณธรรม นำความรู้ ขยายเครือข่าย 4. กำกับ ติดตาม ประเมินผล ส่งเสริมให้มีการกำกับและติดตาม ประเมินอย่างต่อเนื่อง

  9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สำเร็จอาชีวศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สำเร็จอาชีวศึกษา ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมตามความต้องการ ของสถานประกอบการ 1.ความมีวินัย ในตนเอง 4.มนุษย์สัมพันธ์ 3.ความรับผิดชอบ 2.ความผูกพัน 5.ความรู้และ ทักษะวิชาชีพ

More Related