490 likes | 788 Views
แ นวทางการจัดการงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550. โดย นางดวงสมร วรฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ. ก ารทบทวนและ ก ารวางแผนงบประมาณ. แนวทาง ในการจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2550. สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 ตามกรอบยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
E N D
แนวทางการจัดการงบประมาณรายจ่ายแนวทางการจัดการงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โดย นางดวงสมร วรฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ สำนักงบประมาณ
การทบทวนและการวางแผนงบประมาณการทบทวนและการวางแผนงบประมาณ สำนักงบประมาณ
แนวทางในการจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2550 • สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 ตามกรอบยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน • ดำเนินนโยบายงบประมาณสมดุลอย่างต่อเนื่อง • ควบคุมรายจ่ายประจำเพื่อให้มีรายจ่ายลงทุนเพียงพอ • เน้นความสมดุลระหว่างนโยบายทางสังคมและเศรษฐกิจ • เน้นภารกิจที่มีความต่อเนื่องตามยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน /Flagship/ Mega projects • ทบทวน ชะลอ ยกเลิกภารกิจซ้ำซ้อนระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น • พิจารณาแหล่งเงินอื่นนอกเหนือจากแหล่งเงินงบประมาณ สำนักงบประมาณ
การเตรียมความพร้อมเบื้องต้นเพื่อการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ ร่วมกับสำนักงบประมาณ • ทบทวนเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต กิจกรรมและตัวชี้วัด ผลสำเร็จในปีงบประมาณ 2549 • ติดตามผลการดำเนินงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณในปี 2548 • ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ ร่วมกับสงป. สศช. และกพร. • ทบทวนแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 • ส่วนราชการ ปรับปรุงฐานข้อมูลงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง และจัดทำประมาณการรายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น สำนักงบประมาณ
การทบทวนต.ค.-ธ.ค.48 กระบวนการจัดทำงบประมาณ การอนุมัติมิ.ย.-ก.ย.49 การวางแผนพ.ย.48-ม.ค.49 การจัดทำม.ค.-พ.ค.49 ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ
ค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบการเตรียมการ จัดทำงบประมาณและปฏิทิน งบประมาณงบประมาณ ปี 2550 ทบทวน 18 ต.ค. 48 อนุมัติ วางแผน • ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ ร่วมกับ สงป.- ทบทวนเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต กิจกรรมและตัวชี้วัด ผลสำเร็จในปี งบประมาณ 2549 • - ติดตามผลการดำเนินงานและ ผลการใช้จ่ายงบประมาณในปี งบประมาณ 2548 ต.ค.-พ.ย.48 จัดทำ ต.ค.-ธ.ค.48 • ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ สงป. สศช. และกพร.ร่วมกันทบทวนแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 เสนอรมต.ให้ความเห็นชอบ และส่ง สงป. ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ
พ.ย.-ธ.ค.48 • ปรับปรุงฐานข้อมูลงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางให้สอดคล้องแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • จัดทำประมาณการรายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็นให้สอดคล้องกับฐานข้อมูลรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง • ก.การคลัง สงป. สศช. และธปท.ประชุมเพื่อทบทวนประมาณการรายได้ วงเงินงบประมาณ และโครงสร้างงบประมาณ ตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อจัดทำข้อเสนอนโยบายงบประมาณ • สงป. ร่วมกับ สศช.พิจารณาทบทวนและจัดทำข้อเสนอเป้าหมาย และยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ทบทวน อนุมัติ วางแผน จัดทำ 17 ม.ค.49 • ค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบนโยบาย งบประมาณวงเงิน โครงสร้าง งบประมาณ และยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจำปี ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ
18-24 ม.ค.49 • รองนายกฯที่รับผิดชอบ/รมต.มอบนโยบายให้กระทรวง ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ จัดทำเป้าหมาย ยุทธศาสตร์กระทรวง แผนปฏิบัติราชการประจำปีพ.ศ. 2550 ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ4 ปีฯ ทบทวน อนุมัติ วางแผน 25ม.ค.-23ก.พ.49 จัดทำ • ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ จัดทำรายละเอียด วงเงินและคำของบประมาณ และประมาณการรายได้เสนอกระทรวง รมต. และรองนายกฯให้ความเห็นชอบและส่ง สงป. 24ก.พ-10 เม.ย.49 • สงป.พิจารณาและจัดทำรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปีในทุกมิติให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของรัฐบาลพร้อมหลักเกณฑ์การปรับปรุงงบประมาณ เพื่อนำเสนอค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบ 18 เม.ย.49 • ค.ร.ม.พิจารณาให้ความเห็นชอบรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ พร้อมหลักเกณฑ์ การปรับปรุงงบประมาณ ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ
19-25 เม.ย.49 ทบทวน • รองนายกฯที่รับผิดชอบ/รมต.มอบนโยบายให้กระทรวง ส่วนราชการ และรัฐสาหกิจ พิจารณาปรับปรุงรายละเอียด งบประมาณฯ และส่ง สงป. อนุมัติ วางแผน 26 เม.ย-8 พ.ค.49 จัดทำ • สงป.พิจารณาปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี เสนอรองนายกฯเพื่อนำเสนอค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบ 9 พ.ค.49 • ค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบการปรับปรุงงบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ • สงป. จัดพิมพ์ร่างพ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายฯ และเอกสารงบประมาณ 10-19 พ.ค.49 • ค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบร่างพ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ และนำเสนอสภาผู้แทนราษฎร 23 พ.ค.49 ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ
ทบทวน 14-15 มิ.ย.49 • สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาในวาระที่ 1 อนุมัติ วางแผน 23-24 ส.ค.49 จัดทำ • สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาในวาระที่ 2-3 11-12 ก.ย.49 • วุฒิสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายฯ 19 ก.ย.49 • สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนำร่างพ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายฯทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ
การทบทวน 2549 เพื่อจัดทำ 2550 การทบทวนภารกิจตามยุทธศาสตร์ การทบทวนภารกิจประจำ การทบทวนค่าใช้จ่ายของแต่ละภารกิจ สำนักงบประมาณ
ขั้นตอนที่ 1 พิจารณาเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ ขั้นตอนที่ 2 พิจารณาเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์เป้าหมายการให้บริการ ทบทวนผลผลิต/โครงการ ขั้นตอนที่ 4 ทบทวนกิจกรรม ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนการทบทวน สำนักงบประมาณ
ขั้นตอนที่ 6 กำหนดตัวชี้วัดผลผลิต ขั้นตอนการทบทวน (ต่อ) 1. กำหนด 4 มิติ คือ ด้านปริมาณ ด้านคุณคุณภาพ ด้านระยะเวลา ด้านค่าใช้จ่าย/ต้นทุน 2. แนวทางในการกำหนดค่าหรือเกณฑ์วัด • ใช้สถิติเดิมของหน่วยงาน • เป็นไปตามหลักวิชาการเฉพาะ • ในกรณีที่ไม่สามารถกำหนดระยะเวลาการผลิตได้ชัดเจน อาจใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานของกิจกรรมหลักก็ได้ • ในมิติค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ
กรอบและแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินกรอบและแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี (2548-2551) ผลักดันและบูรณาการยุทธศาสตร์ตามแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2548-2551) - เครื่องมือทบทวนแผนให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสถานการณ์ - เป็นกรอบในการจัดทำคำของบประมาณประจำปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี (2550) การจัดทำแผนงบประมาณที่สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี สำนักงบประมาณ
ประมาณการรายรับ-รายจ่ายชัดเจนเน้นการบูรณาการและความสำเร็จตาม Agenda แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี (2548-2551) วงเงินสูงกว่ากรอบตามแผนการบริหารฯ เน้นความสำเร็จตาม Functionขาดการบูรณาการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2548-2551) แนวโน้มสูงกว่ากรอบวงเงินจำนวนมากแนวโน้มไม่เน้นผลสำเร็จในภาพรวมต่างคนต่างคิด ต่างคนต่างทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปี (2550) สถานภาพปัจจุบัน สำนักงบประมาณ
ประสานงาน กำกับดูแล ติดตามผล/รายงาน คัดเลือก/กลั่นกรอง บทบาทของหน่วยงานเจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์(ย่อย) สำนักงบประมาณ
หลักเกณฑ์การพิจารณา ศึกษา ทบทวน กำหนดตัวชี้วัดและวงเงินงบประมาณ จัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน กำกับดูแลและกรอบวงเงินตามประเด็นยุทธศาสตร์ ขจัดปัญหาความซ้ำซ้อนของผลผลิต/โครงการหรือกิจกรรมระหว่างหน่วยงาน สำนักงบประมาณ
หลักเกณฑ์การพิจารณา (ต่อ) • เป็นอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน • ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปี 2549 และควรดำเนินการต่อเนื่องในปี 2550 • เป็นหน่วยงานใหม่ที่ควรมาเติมเต็มเพื่อการบรรลุเป้าหมาย สำนักงบประมาณ
หลักเกณฑ์การพิจารณา (ต่อ) • สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดินและยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณประจำปี • มีความสำคัญทางกลยุทธ์ต่อความสำเร็จตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่กำหนด • ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรมมีความเชื่อมโยงและสนับสนุนซึ่งกันและกันอย่างเหมาะสมทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ และเวลาการส่งมอบ สำนักงบประมาณ
หลักเกณฑ์การพิจารณา(ต่อ)หลักเกณฑ์การพิจารณา(ต่อ) ค่าใช้จ่าย เนื้องาน • ต้องดำเนินการและหลีกเลี่ยงไม่ได้ • รองรับกฎหมาย • มีสัญญาหรือข้อผูกพันหรือมีเงื่อนไขที่ต้องจ่าย • 2) ควรดำเนินการ • Flagship • Mega Projects • นโยบายสำคัญของรัฐบาล • ประหยัดและตามความจำเป็นที่ • สอดคล้องกับความพร้อม ขีดความสามารถและความเหมาะสมของงานบนพื้นฐานของความเป็นไปได้ในการดำเนินงาน • เป็นการใช้จ่ายภายในปีงบประมาณ สำนักงบประมาณ
คนพร้อม ดำเนินการได้ทันที เทคนิคพร้อม องค์ความรู้ วิธีการ เครื่องมือ แบบรูป คุณลักษณะและพื้นที่พร้อม ผลงานที่ผ่านมา ผลดำเนินงาน ผลการเบิกจ่าย ปริมาณงานเหมาะสม เปรียบเทียบกับปริมาณงานที่ขอกับขีดความสามารถที่มี ความพร้อมและขีดความสามารถ สำนักงบประมาณ
ความคุ้มค่าในการลงทุนความคุ้มค่าในการลงทุน ประโยชน์ที่พึงได้กับรายจ่ายที่เสียไป ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ อัตราผลตอบแทน (IRR) ความคุ้มค่าทางสังคม ประสิทธิผล ความเหมาะสมด้านการเงิน ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ความเหมาะสม สำนักงบประมาณ
แนวทางการจัดทำ Pre-ceiling วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิด ขั้นตอนสำคัญต่างๆ สำนักงบประมาณ
วัตถุประสงค์ • เพื่อเป็นการประเมินเบื้องต้นสำหรับค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน ในการดำเนินนโยบายของรัฐบาลและภารกิจตามที่กฎหมายกำหนด • เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนของหน่วยงานในการทบทวนแผนปฏิบัติราชการสี่ปี และประจำปีและเสนอของบประมาณปี 2550 สำนักงบประมาณ
แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี MTEF สถานการณ์แวดล้อม+นโยบายใหม่ แผนปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ ร่าง พ.ร.บ. ประจำปีฯ Bottom-up Request Top-down Ceiling กรอบแนวคิด • Top-down Budgeting สำนักงบประมาณ
กรอบแนวคิด (ต่อ) • Pre-ceiling 2 มิติ • มิติหน่วยงาน(Functional Budget Ceiling) • มิติยุทธศาสตร์(Agenda Budget Ceiling) • ข้อมูล Bottom-upสะท้อนข้อเท็จจริงภาระค่าใช้จ่ายของหน่วยปฏิบัติและความต้องการบริการภาครัฐของประชาชน สำนักงบประมาณ
ขั้นตอนสำคัญในการจัดทำ Pre-ceiling • พิจารณากรอบวงเงินรวม (Macro Overview) • ทบทวนขอบเขต(Coverage Review) • กำหนดเป้าหมาย(Target Identifying) • กำหนดรายจ่าย(Expense Estimation) • วิเคราะห์ความเชื่อมโยง(Input-Output /Outcome Consistency) • ทบทวนลำดับความสำคัญ (Priority Revision) สำนักงบประมาณ
การจัดทำงบประมาณ สำนักงบประมาณ
1. แนวโน้มเศรษฐกิจและนโยบายงบประมาณปี 2550 • แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจ • GDP ขยายตัวต่อเนื่องจากปี 2548 ประมาณร้อยละ 5.5 – 6.0 • อัตราเงินเฟ้อประมาณร้อยละ 3.4 • นโยบายงบประมาณ • ดำเนินนโยบายงบประมาณแบบสมดุล ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2549 • ใช้แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548 -2551เป็นกรอบนโยบาย • ทบทวนภารกิจและบทบาทหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการสำคัญและโครงการลงทุนขนาดใหญ่ • สนับสนุนการวางโครงสร้างพื้นฐาน และกำหนดรายจ่ายลงทุนไม่ต่ำกว่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ • ส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควบคู่กับการเสริมสร้างความสามารถของท้องถิ่นในการจัดหารายได้เอง สำนักงบประมาณ
2. ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 กรอบแนวคิด • ความต่อเนื่องในการดำเนินนโยบายจากปี 2549 • ทบทวนให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจ • ให้ความสำคัญกับแนวคิดและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) • 9 ประเด็นยุทธศาสตร์ + รายการค่าดำเนินการภาครัฐ สำนักงบประมาณ
เป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ 4 ประการ • ขจัดความยากจนและความมั่งคั่งกระจายไปสู่ทุกภาคส่วน • สังคมไทยเป็นสังคมที่มีคุณภาพ • โครงสร้างเศรษฐกิจมีความสมดุลยิ่งขึ้น • การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นพลังงานในการขับเคลื่อนประเทศ สำนักงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ขจัดความยากจนยุทธศาสตร์ขจัดความยากจน 1 ยุทธศาสตร์พัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ 2 ยุทธศาสตร์ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ 3 ยุทธศาสตร์บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4 ยุทธศาสตร์การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 5 ยุทธศาสตร์พัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมือง 6 7 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม 8 ยุทธศาสตร์รักษาความมั่นคงของรัฐ ยุทธศาสตร์รองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตรโลก 9 รายการค่าดำเนินการภาครัฐ 10 ยุทธศาสตร์การจัดสรรปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ
จุดเน้นในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์จุดเน้นในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ • แก้ไขปัญหาเร่งด่วน • ตอบสนองต่อความสำเร็จของเป้าหมายในระยะสั้น • ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • นโยบายใหม่ของรัฐบาล และมีความพร้อมในการดำเนินการ • บูรณาการเกี่ยวเนื่องกับส่วนอื่นๆ หากไม่ดำเนินการจะทำให้กระบวนการทั้งหมดไม่บรรลุสู่เป้าหมาย • วางรากฐานที่ดีเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย โดยจำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและใช้ระยะเวลา สำนักงบประมาณ
1. ยุทธศาสตร์การขจัดความยากจน • แก้ไขอย่างครบวงจร 3 ระดับ (ประเทศ / ชุมชน / บุคคล) • กำหนดกลุ่มยากจนเป้าหมาย • เศรษฐกิจพอเพียง • การพึ่งพาตนเอง • เสริมโอกาส เพิ่มทางเลือกให้แก่คนยากจน • โครงสร้างพื้นฐานเพื่ออาชีพ การทำกิน สำนักงบประมาณ
2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ • พัฒนาคนและสังคมให้ครบทุกมิติ • สังคมฐานความรู้ • มีภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรม สมานฉันท์และสันติสุข • สุขภาพสมบูรณ์ สาธารณสุขทั่วถึง และมีคุณภาพ • ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • เตรียมความพร้อมแก่ผู้สูงอายุ • เมืองน่าอยู่ สำนักงบประมาณ
3. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ • ด้านตัวสินค้า ให้ความสำคัญกับการเพิ่มมูลค่ามากกว่าปริมาณผลผลิต • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อการผลิตและการแข่งขัน • พัฒนาประสิทธิภาพผู้ประกอบการเกี่ยวกับการบริหารจัดการกระบวนการหลังจากการผลิต • ปรับโครงสร้างในระดับภาคการผลิต สำนักงบประมาณ
4. วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 จากปัจจัยทางเศรษฐกิจ และสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ นโยบาย งปม. 50 งบประมาณสมดุล วงเงินงบประมาณรายจ่าย จำนวน 1,476,000 ล้านบาท สำนักงบประมาณ
โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ
ทบทวนบทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่ไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การดำเนินงานของรัฐบาล(Redeploy)และการจัดลำดับความสำคัญ (Prioritize) • ทบทวนภารกิจตามยุทธศาสตร์ ทบทวนภารกิจของหน่วยงานให้คงเหลือเฉพาะที่สอดคล้องกับเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ระดับชาติโดยตรง • ทบทวนภารกิจพื้นฐาน ทบทวนภารกิจสำคัญของหน่วยงานที่ดำเนินการตามกฎหมายหรือที่ได้รับ มอบหมาย ลักษณะงานเป็นงานประจำ โดยเลือกเฉพาะที่เกิดประโยชน์ คุ้มค่าต่อประชาชนผู้รับบริการ • ทบทวนค่าใช้จ่าย ทบทวนค่าใช้จ่ายของแต่ละภารกิจที่สามารถประหยัดได้ บูรณาการใช้ ทรัพยากรร่วมกัน • ทบทวนผลผลิต โครงการ กิจกรรม และเป้าหมาย พิจารณาจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา หรือเป็นภาระงบประมาณในระยะ ยาวโดยเฉพาะรายจ่ายประจำ สำนักงบประมาณ
แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 • จัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • สอดรับกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548 – 2551 • สามารถเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 • สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 ของส่วนราชการ • ส่งสำนักงบประมาณ ภายในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2549 สำนักงบประมาณ
แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 ของส่วนราชการ • สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548 – 2551 เป็นกรอบในการจัดทำคำของบประมาณ ตามนัยมาตร 16 แห่ง พรฏ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 สำนักงบประมาณ
แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี • ร่วมกับรัฐมนตรีมอบนโยบาย เพื่อผลักดันประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ไปสู่การปฎิบัติ • กำกับดูแลบูรณาการงบประมาณในมิติยุทธศาสตร์ มิติกระทรวง/หน่วยงาน และมิติพื้นที่ สำนักงบประมาณ
แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 รัฐมนตรี • มอบนโยบายให้กระทรวง และหน่วยงาน • กำหนดเป้าหมายสำคัญตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน • จัดลำดับความสำคัญทางยุทธศาสตร์ • บูรณาการมิติงานตามยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดินและมิติงานยุทธศาสตร์พื้นที่ เข้าสู่งานตามยุทธศาสตร์กระทรวง/หน่วยงาน สำนักงบประมาณ
แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 กระทรวง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ • วิเคราะห์ความเชื่อมโยง และกลั่นกรอง • เป้าหมายเชื่อมโยงและส่งผลต่อความสำเร็จของเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ ชัดเจนและนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย • ทบทวนเป้าหมาย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และรายจ่ายในทุกมิติ • ปรับเปลี่ยน เป้าหมาย กลยุทธ์ ให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาล • ใช้หลักการบริหารที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดค่าใช้จ่าย • ชะลอ ปรับลด ยกเลิก สิ่งที่หมดความจำเป็นหรือซ้ำซ้อนกันระหว่างมิติงานต่างๆ • ให้ความสำคัญกับ Mega Project / Flagship Project / กลุ่มจังหวัดและจังหวัด • ทบทวนภารกิจ เพิ่มเติมให้แก่ อปท. สำนักงบประมาณ
แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 การจัดทำข้อเสนองบประมาณสำหรับจังหวัดตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด / จังหวัดแบบบูรณาการ • จัดทำข้อเสนองบประมาณที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ • สนับสนุนการบริหารงานจังหวัด CEO ตามยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด / จังหวัด สำนักงบประมาณ
คู่มือการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • ระบบคำของบประมาณอิเล็กทรอนิกส์ • ส่งภายในวันที่ 23 ก.พ. 49 • สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ของแผนการบริหาร • ราชการแผ่นดิน มิติงานตามยุทธศาสตร์พื้นที่ มิติงานกระทรวงและหน่วยงาน สำนักงบประมาณ
คู่มือการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • เพิ่มการพิจารณา เรื่องสำคัญ 5 เรื่อง รองรับการพิจารณา • ของคณะกรรมาธิการ • - ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • - ด้านสิ่งก่อสร้าง • - ด้านแผนการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ • - ด้านการฝึกอบรม สัมมนา ประชาสัมพันธ์ จ้างที่ปรึกษา วิจัย • ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ • - ด้านเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงบประมาณ
คู่มือการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • คิดค่าใช้จ่ายกระจายตามกิจกรรม / ผลผลิต • ขอทำความตกลงเพื่อขอรหัสใหม่ก่อนจัดทำคำของบประมาณ • การจำแนกรายจ่ายให้ถือปฏิบัติตามหลักการจำแนก • ประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ • จัดส่งงบดุล (งบทางการเงิน) ปี 2548 เงินนอกงบประมาณที่ไม่ได้นำส่งคลัง เพื่อพิจารณาความครอบคลุมงบประมาณ สำนักงบประมาณ