360 likes | 681 Views
การจัดทำแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2 ( พ.ศ. 2550-2564). วันที่ 23 มีนาคม 2550 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. สถานภาพปัจจุบัน. แผนอุดมศึกษาระยะยาว ( 2533 - 2547) หมดอายุ สถานการณ์โลกที่เปลี่ยนไป
E N D
การจัดทำแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2550-2564) วันที่ 23 มีนาคม 2550 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สถานภาพปัจจุบัน • แผนอุดมศึกษาระยะยาว (2533-2547) หมดอายุ • สถานการณ์โลกที่เปลี่ยนไป • บริบทการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในประเทศที่เปลี่ยนไป • วิวัฒนาการอุดมศึกษาไทย
หลักการร่วมพื้นฐาน โอกาสและความเสมอภาค (Equity) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความเป็นเลิศ (Excellence) ความเป็นนานาชาติ(Internationalization) การกำหนดเป้าหมายหลัก สัดส่วนการผลิตบัณฑิต การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา (กยศ.) การ สร้างเอกภาพในการกำหนดนโยบายและมาตรฐานอุดมศึกษา(สกอ.) การสร้าง ความพร้อมเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยในกำกับรัฐบาล การใช้และการประเมินผล การถอดเป็นแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะที่ 7 และ 8 การประเมินผลช่วงกลางแผน แผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับแรก (พ.ศ.2533-2547) (จัดทำระหว่างปี พ.ศ.2530-2532)
แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับแรก (2533-2547) ขั้นตอนประกอบด้วย 1. การวิจัยเชิงนโยบาย (นักวิจัยกว่าหนึ่งร้อยคน) ๒๓ เรื่อง ดังนี้ 1.1 สภาพแวดล้อมอุดมศึกษา (Environmental Scanning) 11 เรื่อง 1.2 กำลังคนและตลาดแรงงาน 3 เรื่อง 1.3 ประสิทธิภาพอุดมศึกษา 7 เรื่อง 1.4 บทบาทของภาคเอกชน 2 เรื่อง 2. กำกับด้วยคณะกรรมการทบวงมหาวิทยาลัย คณะกรรมการนโยบาย คณะกรรมการจัดทำแผนอุดมศึกษาระยะยาว 3. การประชุมเชิงปฏิบัติการ 4. ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ
International Perspectives ประกอบการวางแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี (2533-2547) Charles N. Myers : Higher Education and Secondary Education : Patterns, Prediction and Planning Isao Amagi : Outline of Higher Education Planning – Case in Japan G. Psacharopoulos: Financing of Education in Developing Countries : The Planning of Education- Where Do We Stand? : Links between Education and Labour Market :Assessing Training Priorities in Developing Countries :The Economics of Higher Education in Developing Countries S. Asher : Higher Education- Experience in Planning and Implementation Hyung – Sup Choi : Korean Approach to Higher Education
สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน • สถาบันอุดมศึกษา เพิ่มขึ้น(Explosion ไม่ใช่ Growth) ขาดแผนหลัก ขาดทิศทาง ขาดโฟกัส ขาดความร่วมมือ ซ้ำซ้อน แย่งชิงนักศึกษา แย่งชิงทรัพยากร • การหลอมรวม (Consolidation) สถาบันการศึกษา • ความหลากหลายของสถาบัน(ภารกิจ ผลผลิต): Academic oriented, Professionally – oriented / Hands on, Community/Region oriented, Community dedicated • การพัฒนาบนฐานของความหลากหลาย (diversity) • ปัญหาของ mindset “One size fits all”
สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน (ต่อ) • ทิศทางการผลิตบัณทิต • ความสอดคล้องระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ทั้งปริมาณและคุณภาพ • ทักษะสมัยใหม่ : การเรียนรู้ตลอดชีวิต การสื่อสาร ภาษาต่างประเทศ ไอที • ลักษณะที่พึงประสงค์ : Employability, Learnability • คุณภาพของการศึกษา • ข้อค้นพบจากการประเมินของสมศ.รอบแรก (และรอบที่สอง) • (ยอดเยี่ยม ยอดแย่ – ICU, Coma)
สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน (ต่อ) • การบริหารและกำกับนโยบาย (Governance) และการบริหารจัดการ (Management) • บทบาทของสภามหาวิทยาลัยในการกำหนดทิศทาง กำกับ ตรวจสอบ • การบริหารจัดการ (แผนการเงิน คุณภาพการศึกษา บุคลากร ความโปร่งใส การติดตามประเมินผล ฯ) • นิสิตนักศึกษา- การใช้ชีวิตของนักศึกษาและคุณภาพบัณทิต • ความเป็นห่วงของสังคม เสียงจากผู้ใช้ (วินัย ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม การทำงานเป็นทีม ) • ข้อมูลจากโครงการ Child Watch
แผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาวระยะที่ ๒ ทำงานบนฐานข้อมูล การมีส่วนร่วม กันยายน สังเคราะห์ประเด็น กำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ เป้ากำหนดกรอบแผนยาว เสนอครม. การสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การรวบรวมและสังเคราะห์งานวิจัยที่มี การทำงานวิจัยเพิ่มเติม (ข้อมูลปริมาณ) การระดมสมองผ่านการประชุมโต๊ะกลม การรับฟังข้อมูลความเห็นผ่านเวทีสาธารณะ ที่ประชุมอธิการบดีทั้ง 4 กลุ่ม เวทีสาธารณะ/โต๊ะกลมจัดโดยมหาวิทยาลัย สื่อมวลชน Retreat ที่ประชุมอธิการบดี ทั้งสี่กลุ่ม นักวิชาการจากมหาวิทยาลัย คณะทำงาน (Task force) คณะอนุกรรมการกำกับ (Steering) คณะอนุกรรมการนโยบายและแผน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กุมภาพันธ์ ร่วมประชุมอธิการบดี ทุก ๒ เดือน
ตารางการดำเนินงานเพื่อจัดทำกรอบแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาวตารางการดำเนินงานเพื่อจัดทำกรอบแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว -เดือนที่-
แผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่สอง:ตัวอย่างประเด็นสำคัญในเบื้องต้นแผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่สอง:ตัวอย่างประเด็นสำคัญในเบื้องต้น • อัตตลักษณ์ของระบบอุดมศึกษาไทยในโลกและอัตตลักษณ์ของสถาบันอุดม ศึกษาในระบบอุดมศึกษาไทย • การบริหารและกำกับนโยบาย (Governance) และการบริหารจัดการ (Management) • การสร้างความสามารถให้สถาบัน (Empowerment) • การพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ • การพัฒนานักศึกษาเชิงบูรณาการ • ระบบการเงินอุดมศึกษา • คุณภาพและมาตรฐานอุดมศึกษา • กฎหมายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา • การเรียนรู้และการเติบโตใน Cyber Environment • อุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะภาคใต้ และเขตพัฒนาเฉพาะอื่นๆ • ต่างประเทศกับอุดมศึกษาไทย
แผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่ 2 –การมีส่วนร่วมของ ม/ส อาจารย์และนักวิชาการ(40+ คน) ทำหน้าที่ task force ระหว่าง ก.พ.– ก.ย.50 (ครึ่งถึงเต็มเวลา) เพื่อศึกษาเชิงนโยบาย สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ประชา- สัมพันธ์แผนอุดมศึกษาระยะยาว การร่างกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มหาวิทยาลัย / กลุ่มมหาวิทยาลัยร่วมสร้างเวทีรับฟังความเห็นผู้มี ส่วนร่วม การประชุมเชิงปฏิบัติการณ์ มหาวิทยาลัยเผยแพร่ข้อมูลและรับฟังความเห็นภายในองค์กร มหาวิทยาลัย สนับสนุนรายงานการศึกษาเชิงนโยบายที่มีอยู่และข้อมูล ของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการทำแผนอุดมศึกษา ควรสร้างโอกาส มหาวิทยาลัยได้ข้อมูลเพื่อการทำแผนพัฒนา /แผนยุทธศาสตร์ และแผนยาว ของแต่ละสถาบัน
กลุ่ม ม/ส 5 กลุ่ม (กลุ่ม ม.รัฐ , ม.เอกชน , ม.ราชภัฏ , ม.ราชมงคล (รวม ส.ปทุมวัน) และ กลุ่มวิทยาลัยชุมชน แนวทางการจัด workshop theme ต่างๆ อาทิเช่น เครือข่ายอุดมศึกษา คุณภาพมาตรฐานอุดมศึกษา Governance & Managementฯลฯ
การจัดทำแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2550-2564) ให้แนวคิดและข้อมูลการอุดมศึกษาและการจัดทำแผนระยะยาว ฉบับที่ 2 โดยเลขาธิการกับกลุ่มอธิการบดีทั้งสี่กลุ่มและผู้บริหารวิทยาลัยชุมชน 1.1 อธิการบดีสถาบันอุดมศึกษารัฐและเอกชนทั้งหมด เมื่อวันที่ 15 มกราคมณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.2 อธิการบดีกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐเดิมครั้งแรก 20 มกราคม ครั้งที่ 2 23 มีนาคม 1.3 ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนครั้งแรก ณ กระทรวงศึกษาธิการ 24 มกราคม 1.4 อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏครั้งแรก เมื่อวันที่2 5 มกราคม 1.5 อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ครั้งที่ 2 วันที่ 26 มีนาคม 1.5 อธิการบดีสถาบันอุดมศึกษาเอกชนครั้งแรก เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ณ โรงแรม ดิเอมเมอรัลด์ * เลขาธิการขอประชุมทุก 2 เดือนกับแต่ละกลุ่มมหาวิทยาลัย
เครือข่ายอุดมศึกษา คุณภาพและมาตรฐาน อุดมศึกษา กลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 5 กลุ่ม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สื่อมวลชน เยาวชนและจริยธรรม นักศึกษา การพัฒนาพื้นที่เฉพาะและ พื้นที่ภาคใต้ ประชาสังคม บทเรียนอุดมศึกษาต่างประเทศ ระบบการพัฒนาบุคลากร การเงินอุดมศึกษา กฎหมาย Governance and management อุตสาหกรรม ICT 2. การจัดเวทีนโยบายเพื่อประกอบการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 2 โดยแบ่งเป็น Themes และมีคณะทำงาน (Task force) ประกอบด้วย: การรายงาน: - คณะกรรมการการอุดมศึกษา - คณะอนุกรรมการนโยบายและแผน(ภายใต้ กกอ.) - Steering Committee - คณะทำงาน (Task force)
การจัดทำแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2550-2564) 3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกำหนดประเด็นเชิงนโยบายอุดมศึกษา สำหรับการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2550-2564) เมื่อวันที่ 10 -11 กุมภาพันธ์ 2550 ณ โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี
Scenario Planning/Forecasting ความเปลี่ยนแปลงประชากรและ ผลกระทบต่อการศึกษา skill mapping/development การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม internationalization การจัดกลุ่มมหาวิทยาลัย และการ empower มหาวิทยาลัยใหม่ การประเมิน&คุณภาพมาตรฐาน เขตพัฒนาเฉพาะภาคใต้ ภาวะผู้นำ ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการ การเงินอุดมศึกษา การพัฒนานักศึกษาอย่างเป็นระบบ การพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ/ต่อเนื่อง การวิจัยและสร้างองค์ความรู้ ความเชื่อมโยงกับสังคม ประเด็นเชิงนโยบายที่ได้จากการประชุม @ กาญจนบุรี
4. Steering Committee Meeting ประชุม Steering Committee และระดมสมองทุกวันพุธ เวลา 17.00 – 20.00 น. - ครั้งที่ 1 วันที่ 7 ก.พ. 2550 : เรื่องแนวทางการจัดทำแผน อุดมศึกษา ระยะยาว ฉบับที่ 2 - ครั้งที่ 2 วันที่ 14 ก.พ. 2550 : สรุปผลการประชุมเชิง ปฏิบัติการเพื่อกำหนดประเด็นเชิงนโยบายอุดมศึกษา - ครั้งที่ 3 วันที่ 21 ก.พ. 2550 : อุดมศึกษากับเขตพัฒนาเฉพาะ ภาคใต้ - ครั้งที่ 4 วันที่ 28 ก.พ. 2550 : ทรัพย์สินทางปัญญา
4. Steering Committee Meeting (ต่อ) • ครั้งที่ 5 วันที่ 7 มี.ค. 2550 : ความเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร • ครั้งที่ 6 วันที่ 14 มี.ค. 2550 : พลังงานและสิ่งแวดล้อม • ครั้งที่ 7 วันที่ 21 มี.ค. 2550 : ดนตรีกับการพัฒนามนุษย์ • ครั้งที่ 8 วันที่ 28 มี.ค. 2550 : สิทธิมนุษยชนกับการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ • * หัวข้อครั้งต่อๆ ไป: พหุปัญญา(multiple intelligence) , Discovery museum, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับอุดมศึกษา, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับอุดมศึกษา • เชิญผู้สนใจเข้าร่วมประชุมระดมสมองได้
5. Workshops อนาคตภาพกับกลุ่มมหาวิทยาลัย กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วันที่ 19 ก.พ. 2550 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี มทร. 9 แห่ง นำเสนอแผนพัฒนามหาวิทยาลัยในช่วง 5 -15 ปีข้างหน้า โดยสรุปเป็นประเด็นเชิงนโยบายที่กลุ่มราชมงคลจะนำไปคิดและวางแผนอนาคตต่อได้ดังนี้ - Positioning ของ ราชมงคลเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่น - S&T University เน้นวิชาชีพ,real sectors และ ท้องถิ่น - ราชมงคลแต่ละแห่งไม่ซ้ำซ้อนกัน แต่เสริมกัน แบ่งงานกันทำ
5. Workshops อนาคตภาพกับกลุ่มมหาวิทยาลัย กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล: ประเด็นเชิงนโยบาย (ต่อ) - สัดส่วน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี:สังคม เท่ากับ 75:25 - ให้บริการการศึกษาสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - เน้น Applied (industrial) research มากกว่า Basic research - ยกระดับฝีมือแรงงาน (Retraining, Upgrade workforce) รวมทั้ง Life Long Learning
5. Workshops อนาคตภาพกับกลุ่มมหาวิทยาลัย กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล: ประเด็นเชิงนโยบาย (ต่อ) - Capacity Building โดยเฉพาะบุคลากร (ผู้บริหาร อาจารย์ และสาย สนับสนุน) - Area based specialization (ภาษาจีน การค้าชายแดน) - เน้น Demand side - ยกระดับความร่วมมือเครือข่ายราชมงคล, Credit Transfer - วางแผนขนาดมหาวิทยาลัยในอนาคต (จำนวนนักศึกษาทั้งหมด สัดส่วนนักศึกษาปริญญาตรี/โท/เอก) -สัดส่วนนักศึกษา ปวส ต่อ ปริญญาตรี
5. Workshop อนาคตกับกลุ่มมหาวิทยาลัย กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล: ประเด็นเชิงนโยบาย (ต่อ) - ระบบการเงิน (สัดส่วน งบประมาณรัฐ ค่าเล่าเรียน และรายได้อื่น เช่นงานวิจัยและบริการวิชาการ) เท่ากับ 1/3:1/3: 1/3 - เชื่อม-รองรับความต้องการท้องถิ่น - สหกิจศึกษา ร่วมมือกับภาคการผลิต/อุตสาหกรรม - เพิ่ม ICT - ความร่วมมือกับต่างประเทศ - สาขาที่เป็นเลิศ - Hands on / OJT / PBL
5. Workshops อนาคตภาพกับกลุ่มมหาวิทยาลัย กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ - วันที่ 6 มี.ค. 2550 ระดมสมองเกี่ยวกับแผนระยะยาว - วันที่ 9 เมย. 2550 ช่วงเช้า รองอธิการบดีฝ่ายแผนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 8 กลุ่ม ระดมสมองเพื่อกำหนดแผนระยะยาวของมหาวิทยาลัยราชภัฏแต่ละกลุ่ม ช่วงบ่าย ระดมสมองร่วมกับอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ
5. Workshops อนาคตภาพกับกลุ่มมหาวิทยาลัย กลุ่มวิทยาลัยชุมชน - ครั้งที่แรกวันที่ 11-12 มี.ค. 2550 ณ วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว เพื่อระดมสมองในการกำหนดแผนระยะยาวของวิทยาลัยชุมชน แต่ละแห่ง และ ภาพรวมของกลุ่มวิทยาลัยชุมชน - ครั้งที่ 2 วันที่ 10 เม.ย. 2550 ณ จังหวัดสงขลา มหาวิทยาลัยของรัฐเดิม 24 แห่ง - วันที่ 22 มี.ค. 2550 ณ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา - วันที่ 21-22 เมษ. 2550
ตัวอย่างการจัดเวทีนโยบายโดยคณะทำงาน (Task force) • ความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม: อนาคตเทคโนโลยีเฉพาะทางกับความต้องการอุดมศึกษา แนวทางความร่วมมือ Soft launch - Shadowing (อาจารย์) - Cooperative Education (นักศึกษา) - โครงการวิจัยร่วมกันระหว่างภาครัฐกับเอกชน - เพิ่มสมรรถนะวิชาชีพสำหรับอาจารย์ (Sabbatical leave) ทางด้าน S&T, Cost accounting และ HR
ตัวอย่างการจัดเวทีนโยบายโดยคณะทำงาน (Task force) • ความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม: อนาคตเทคโนโลยีเฉพาะทางกับความต้องการอุดมศึกษา แนวทางความร่วมมือ (ต่อ) Long Term Policy and Plan - ทำวิจัยร่วมกัน (Concept paper) ทั้ง 7 Sectors เพื่อ กำหนด ภาพอนาคตของแต่ละ Sector ใน 10 ปีข้างหน้าและ ศึกษา ความต้องการกำลังคนที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม - จัดสัมมนา • ประเภทอุตสาหกรรม: ยานยนต์ ไฟฟ้า อาหาร สิ่งทอ แฟชั่น ท่องเที่ยว ปิโตรเคมี และเหล็ก
การพัฒนาและการผลิตครูการพัฒนาและการผลิตครู • วางแผนร่วมกันระหว่างผู้พัฒนาและผลิต(สกอ.) และผู้ใช้(สพฐ. สช./สป. • โควตา พร้อมทุนการศึกษา และการสร้างความพร้อม • ติดต่อ ม/ส เพื่อสร้างความเข้าใจ ให้ข้อมูล • สร้างเวทีติดต่อระหว่างม/ส ในพื้นที่ และส่วนอื่น • เป็นแหล่งฐานข้อมูล • ทิศทาง กยศ. กรอ. One stop service แผนยาว ๑๕ ปี แผนพัฒนา ๕ ปี งบประมาณ ๒๕๕๑ ปรับแผน ๒๕๕๐ อุดมศึกษาภาคใต้ วิทยาลัยชุมชนและโปรแกรมปรับเร็ว การส่งเสริม mobility สองทาง • รับผู้จบการศึกษาอนุปริญญา จากวิทยาลัยชุมชน มาเรียนต่อ • สนับสนุนการทำงานของวิทยาลัยชุมชน (หลักสูตรอนุปริญญา ฝึกอาชีพ) • พัฒนาอาจารย์ วิทยาลัยชุมชน (สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา) • ให้มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษา (เป็นบางส่วนของวิชา ของหลักสูตร ระหว่างม/สใน • พื้นที่ และม/สทั่วประเทศ) • เพิ่มกิจกรรมเด็กเยาวชน นิสิตนักศึกษาที่เสริม mobility สองทิศทาง • การแลกเปลี่ยนอาจารย์และบุคลากร ๖ มี.ค.๕๐
ประเด็นเกี่ยวกับอุดมศึกษากับการแก้ไขปัญหาเขตพื้นที่เฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้ประเด็นเกี่ยวกับอุดมศึกษากับการแก้ไขปัญหาเขตพื้นที่เฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้ • การให้ความช่วยเหลือด้วยที่นั่งเรียน ทุน และการสอนเสริม • การพัฒนาครูท้องถิ่น เชื่อมโยงการศึกษาประถมมัธยม • การสนับสนุนด้านการอาชีพและหลักสูตรวิชาชีพ • การสร้างความเข้าใจที่ดีระหว่างเยาวชนในภูมิภาคต่าง ๆ • เครือข่ายศูนย์สันติศึกษา • การส่งเสริมความเป็นพหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม พหุภาษา • เรียนรู้จากประสบการณ์ของประเทศอื่น เช่น U. of Northern Malaya, Europe, Grameen Bank
การพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ Five domains of Learning 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร Brain Thrust ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบข.) ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น การพัฒนา ความเป็นครู Mentoring (๑๐ปี) การเตรียม ความเป็นครู การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม ครูอาวุโส นักวิจัยอาวุโส ผู้บริหารอาวุโส นักวิชาชีพอาวุโส การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) โควตา ระบบ Admission การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบริการสังคม การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ ทุน การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ ครู นักวิจัย ผู้บริหาร นักวิชาชีพ รุ่นกลาง O Net A Net ช่วงบ่มเพาะ - Early career development (๕-๑๐ปี) ช่วงเก็บเกี่ยว (๒๐ + ปี) มัธยมปลาย ช่วงเรียนอุดมศึกษา ๖ มี.ค.๕๐
Five domains of Learning Brain Thrust 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบข.) ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น การพัฒนา ความเป็นครู ครูอาวุโส นักวิจัยอาวุโส ผู้บริหารอาวุโส นักวิชาชีพอาวุโส การเตรียม ความเป็นครู การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) โควตา ระบบ Admission การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบรืการสังคม การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ ทุน O Net A Net ช่วงบ่มเพาะ - Early career development (๕-๑๐ปี) ช่วงเรียนอุดมศึกษา Mentoring (๑๐ปี) ช่วงเก็บเกี่ยว (๒๐ + ปี) มัธยมปลาย ๖ มี.ค.๕๐
Five domains of Learning 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร Brain Thrust ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบข.) ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น Mentoring (10 ปี) การพัฒนา ความเป็นครู ครูอาวุโส นักวิจัยอาวุโส ผู้บริหารอาวุโส นักวิชาชีพอาวุโส การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง การเตรียม ความเป็นครู การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) โควตา ระบบ Admission การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบริการสังคม การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ ทุน ครู นักวิจัย ผู้บริหาร นักวิชาชีพ รุ่นกลาง O Net A Net ช่วงเรียนอุดมศึกษา ช่วงบ่มเพาะ - Early career development (๕-๑๐ปี) ช่วงเก็บเกี่ยว (๒๐ + ปี) มัธยมปลาย ๖ มี.ค.๕๐
Five domains of Learning ภาคเอกชนสมาคมวิชาการวิชาชีพภาคประชาสังคม 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบข.) ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น การพัฒนา ความเป็นครู การเตรียม ความเป็นครู การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) Brain Thrust โควตา ระบบ Admission Mentoring (๑๐ปี) การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบริการสังคม ทุน การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ O Net A Net การบ่มเพาะ - Early career development (๕-๑๐ปี) การเก็บเกี่ยว (๒๐ + ปี) การเรียนอุดมศึกษา มัธยมปลาย ๖ มี.ค.๕๐
ต่างประเทศกับอุดมศึกษาไทยต่างประเทศกับอุดมศึกษาไทย National Goals, Development, Competition Economic Dev Goals Social Dev Goals Internationalization Islamization Food Industry WTO/FTA HE System Institutions/ Universities Manpower Knowledge
ต่างประเทศกับอุดมศึกษาต่างประเทศกับอุดมศึกษา • China, India, Japan, Korea, Taiwan, Indonesia, EU, US, Africa, South Africa • WTO, FTA, APCE, AESAN, BIMSTEC, ASEM, ACMECS, GMS • Mechanism - G 2 G - G 2 U - U 2 U
Website การจัดทำ website การพัฒนาอุดมศึกษาใน website สกอ. www.mua.go.th/users/longplan Email: longplan@mua.go.th