550 likes | 923 Views
การนำองค์การเข้าสู่ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA. Public Sector Management Quality Award. กำหนดการ. เหตุผลความจำเป็นของการดำเนินงาน PMQA แนวคิดและความเป็นมาของเกณฑ์ PMQA ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
E N D
Public Sector Management Quality Award กำหนดการ • เหตุผลความจำเป็นของการดำเนินงาน PMQA • แนวคิดและความเป็นมาของเกณฑ์ PMQA • ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ • กับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ประโยชน์ต่อส่วนราชการ • ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • การนำองค์กรเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหาร • จัดการภาครัฐ
กำหนดการ ทิศทาง และเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด . ทบทวนADLI เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ *ลักษณะสำคัญขององค์กร *เกณฑ์ Fundamental Level
คุณภาพ ในที่นี้ หมายถึง คุณภาพของการบริหารจัดการ ที่ส่งผลให้องค์กรบรรลุผลลัพธ์ ตามเป้าหมายและทิศทางเชิงกลยุทธ์ โดยตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
ความเป็นมา ปฏิรูประบบราชการ 3ต.ค. 2545 พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน( ฉบับที่ 5)พศ.2545 พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พศ. 2546 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พศ. 2546 – 2550) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย TQA/PMQA
หลังปฏิรูประบบราชการ 3ต.ค. 2545 1พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน( ฉบับที่ 5 )พศ.2545ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พศ. 2546 2พรบ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พศ.2545 ปรับโครงสร้างให้เหมาะกับงาน 3พรบ. งบประมาณ พศ.2542 ปรับการใช้เงินให้คุ้มค่า 4พรบ.ข้าราชการพลเรือน พศ.2551 เพิ่มเงินให้ข้าราชการ
การบริหารราชการที่ไม่ดีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีการบริหารราชการที่ไม่ดีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ทุจริต คอร์รัปชั่น เช้าชาม เย็นชาม/ช้า ไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชน เจ้าขุนมูลนาย สั่งการตามสายการบังคับบัญชา ทำงานแบบต่างคนต่างทำ ยึดกฎระเบียบเป็นหลัก ขาดความยืดหยุ่น คุณพ่อผู้รู้ดี/เป็นนายประชาชน ประหยัด ประสิทธิภาพ คุ้มค่าเงิน /ประสิทธิผล /คุณภาพ ภาระรับผิดชอบ เปิดเผย โปร่งใส ประชาชนมีส่วนร่วม ตอบสนองความต้องการของประชาชน (ประชาชนเป็นศูนย์กลาง) กระจายอำนาจ นิติธรรม/นิติรัฐ
Fusion Management TQA, PMQA Management Frameworks PMQA , PART (Assessment tool) BSC, SWOT, BM, KM ISO , HACCP , HA …. Quality Systems & Standards Management & Improvement Tools 8
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 (Good Governance: GG) ส่วนราชการมีเป้าหมายการพัฒนาเป็นรูปธรรม • ส่วนราชการประสบปัญหาว่า • จะทำอย่างไร • ใช้เครื่องมือตัวไหนมาช่วย • สงสัยว่าการบริการใน ปัจจุบันเป็นไปตาม GG • หรือยัง • บอกแต่เป้าหมาย ของ GG • ไม่ได้บอกวิธีการหรือแนว ทางให้ส่วนราชการไปถึงเป้าหมาย
วัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐ ให้สอดคล้องกับพระราช-กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเองและเป็นบรรทัดฐาน การติดตาม และประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ
ค่านิยมหลักและเกณฑ์ โครงสร้างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
สรุปสาระสำคัญของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 5.การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 8) มาตรา 10,11,27,47 2.การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (พรฎ. หมวด 2, 3) มาตรา. 6,8,9,12,13,16 1.การนำองค์กร (พรฎ. หมวด 2, 5, 7, 8) มาตรา 8,9,12,16,18,20,23,27,28, 43,44,46 7.ผลลัพธ์ การดำเนินการ (พรฎ. หมวด 3, 4, 8) มาตรา 10,20,27,28,29,31 3.การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พรฎ. หมวด 2, 5, 6, 7) มาตรา.8,30,31,38,39,40 41,42,45 6.การจัดการกระบวนการ (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 7) มาตรา 10,20,27,28,29,31 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (พรฎ. หมวด 3, 5, 7, 8) มาตรา 11,39 12
ประโยชน์ต่อส่วนราชการประโยชน์ต่อส่วนราชการ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ ผ่าน การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA ไม่ผ่าน ได้รับรายงานป้อนกลับ ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 วิธีการ เป้าหมาย ผล ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครง การต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)
การนำองค์กรเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการนำองค์กรเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การเตรียมความพร้อมภายในองค์กร สร้างความรู้ ความเข้าใจ กำหนดผู้รับผิดชอบ กำหนดเป็นนโยบาย จัดทำแผนดำเนินการ
แผนภูมิแสดงโครงสร้างและหน้าที่แผนภูมิแสดงโครงสร้างและหน้าที่ คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) - กำหนดนโนบาย กรอบแนวทาง - ส่งเสริม สนับสนุน และให้คำปรึกษา - ติดตาม เร่งรัดการดำเนินการ หน้าที่ คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team) • - จัดเตรียมข้อมูล • - ประเมินองค์กรด้วยตนเอง • วิเคราะห์และประเมินเพื่อหาจุดแข็ง • และโอกาสในการปรับปรุงองค์กร • - จัดทำรายงานผลการดำเนินการ หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6
แผนการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐแผนการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวอย่าง
บทบาทผู้บริหาร ศึกษาแนวคิดและหลักการของPMQA/TQA เพราะPMQA คือคุณภาพการบริหารองค์กร ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้บริหารไม่ใช่ของใคร ขายฝันและเป็นพี่เลี้ยงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาในเรื่องPMQA ทบทวนข้อมูลและร่วมกันกำหนดเป้าหมายสู่ความเป็นเลิศ ให้เวลาและพูดคุยเรื่องการมุ่งสู่ความเป็นเลิศบ่อยๆและบ่อยๆ ให้ความสำคัญและจริงจังกับการประเมินองค์กร การค้นหาโอกาสการพัฒนาและแผนการพัฒนาองค์กรที่กำหนด สนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ หมั่นติดตามความก้าวหน้าและหาทางแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการดำเนินการปัจจัยสู่ความสำเร็จในการดำเนินการ • ผู้บริหารต้องให้ความสำคัญ • มีทีมงานที่เข้มแข็ง • ทุกคนมีส่วนร่วม • ทำไปพร้อมกันทุกหน่วยงาน • ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2551 2551 2549 2550 • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง • สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์กร • น้ำหนักร้อยละ 22 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ • มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI” • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 20
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2552 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น” 21
ทิศทาง และเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 22
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3: มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ เป้าประสงค์: ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ สามารถพัฒนาขีดสมรรถนะและมีความพร้อม ในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ ในการปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการบริหารงาน ตามแผนพัฒนาองค์การ(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยเฉลี่ย) ในปีงบประมาณ 55
Roadmap การพัฒนาองค์การ 2554 2552 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level 6 สถาบันอุดมศึกษา 4 5 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “ รางวัลการพัฒนาองค์การดีเด่น” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 “รางวัลมุ่งมั้นพัฒนาองค์การดีเด่น หมวด ........” Successful Level ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 10 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2552 มุ่งเน้นการปรับปรุงองค์การ โดยวัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ ของแผนพัฒนาองค์การ (รายหมวด 2 แผน) มุ่งเน้นให้ส่วนราชการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้อย่างเป็นระบบ ส่งเสริมให้ส่วนราชการเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหารจัดการมาใช้ปรับปรุง และพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่อง
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับสิ่งที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ความเชื่อมโยงของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับสิ่งที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ คำรับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนา องค์กร คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ Blueprint for Change 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ Redesign Process การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Capacity Building 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Knowledge Management e-government MIS
กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดกรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 28
ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จ ของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัดขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ 1.1 ส่วนราชการประจำจังหวัด ประกอบด้วยสำนักงานจังหวัด และส่วนราชการประจำจังหวัดที่เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคและมีหน่วยงานในระดับอำเภอด้วย ได้แก่ ที่ทำการปกครองจังหวัด สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด สำนักงานประมงจังหวัด สำนักงานที่ดินจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 8 ส่วนราชการ 1.2 การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการประจำ จังหวัดตามข้อ 1.1 ให้พิจารณาครอบคลุมถึงทุกหน่วยงานที่อยู่ในสังกัดของส่วนราชการนั้นๆ 30
ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัดขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ • กรณีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้นำข้อมูลผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลในสังกัด มาใช้ประกอบในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดด้วย • โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อาจไม่จำเป็นต้องดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของตัวชี้วัดนี้ เนื่องจากโรงพยาบาลได้มีการนำระบบการรับรองคุณภาพของโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) มาใช้แล้วหรือจะนำมาใช้ต่อไป 31
ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัดขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 2. หากจังหวัดมีความประสงค์จะนำส่วนราชการประจำจังหวัดอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในข้อ 1.1 มาดำเนินการด้วย ให้เป็นไปตามความสมัครใจ 32
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การประเมินผลตัวชี้วัด 33
P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 14 การปรับปรุงประสิทธิภาพ 15 แนวทางการเรียนรู้ขององค์กร 1 พันธกิจและการให้บริการ 1.1 พันธกิจ หน้าที่ 1.2 แนวทางวิธีการให้บริการ 2 ทิศทาง 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้าประสงค์หลัก 2.3 วัฒนธรรม 2.4 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 5 การดำเนินการภายใต้กฏหมาย 6 โครงสร้างองค์กร/การกำกับดูแลตนเองที่ดี 7 องค์กรที่เกี่ยวข้อง 8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9 สภาพการแข่งขัน (คู่เทียบ) 10 ปัจจัยความสำเร็จในการแข่งขัน 11 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 12 ข้อจำกัดด้านข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 13 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ • ด้านพันธกิจ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านบุคลากร 34
การประเมินองค์กรตามเกณฑ์PMQAการประเมินองค์กรตามเกณฑ์PMQA หมวด 1-6
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) “ระดับพื้นฐาน” หมายถึงกระบวนการเริ่มได้ผล • มีกระบวนการ/ระบบที่มีประสิทธิภาพและทำอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับ กิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน (Approach) • กระบวนการ/ระบบ เป็นที่เข้าใจยอมรับ และเริ่มมีบทบาทสนับสนุน กระบวนการ/กิจกรรมในกิจกรรมด้านนี้ (Deployment) • องค์กรเริ่มมีการประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบของกิจกรรมด้านนี้ อาจมีการปรับปรุงให้กระบวนการ/ระบบให้ดีขึ้นบ้าง(Learning) • กระบวนการ/ระบบเกี่ยวกับกิจกรรมด้านนี้สอดรับ สนับสนุนกิจกรรมระดับ สำคัญขององค์กรที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ(Integration)
แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภท HOW
องค์ประกอบเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน(Fundamental Level) ส่วนที่ 1 เกณฑ์ Fundamental Level ส่วนที่ 2 คำอธิบายแนวทางดำเนินการ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ Fundamental Level
ตัวอย่างการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เกณฑ์ หมวด 6 คำอธิบาย ส่วนราชการมีวิธีการเพื่อทำให้มั่นใจว่าระบบงานและสถานที่ทำงานมีการเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติ หรือ ภาวะฉุกเฉิน และระบบการเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉิน ซึ่งได้คำนึงถึงการป้องกัน การจัดการความต่อเนื่องของการดำเนินการ และการทำให้คืนสู่สภาพเดิม ภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉินอาจเกี่ยวข้องกับสภาพอากาศ สาธารณูปโภค ความปลอดภัย การจราจล หรือเกิดจากภาวะฉุกเฉินในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet วิธีการประเมิน A - แสดงแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อป้องกับผลกระทบกับการจัดการกระบวนการ ในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน D - สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติ L - มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ I - แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการดำเนินการตามพันธกิจหลักของส่วนราชการว่าจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ 42
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ 43
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 44
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 45
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (สำหรับจังหวัด) 46
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ