30 likes | 284 Views
การบูรณาการ KM Strategy ไว้ในแผนกลยุทธ์ เป้าหมายระยะสั้น & ระยะยาว และกรอบเวลาใน การบรรลุเป้าหมายของ KM การกำหนด KPIs ของ KM การ Deploy KM ทั่วทั้งองค์กร. โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย. 2. การวางแผน เชิงกลยุทธ์. 5. การมุ่งเน้น บุคลากร. 1. การนำ
E N D
การบูรณาการ KM Strategy ไว้ในแผนกลยุทธ์ • เป้าหมายระยะสั้น & ระยะยาว และกรอบเวลาใน • การบรรลุเป้าหมายของ KM • การกำหนด KPIs ของ KM • การ Deploy KM ทั่วทั้งองค์กร โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น บุคลากร 1. การนำ องค์กร 3. การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด 6. การจัดการ กระบวนการ เกณฑ์ TQA/PMQA : มุมมองในเชิงระบบ • การนำ KM ไปใช้เพื่อสร้างความสัมพันธ์และความพึงพอใจให้ลูกค้า • การรับฟังความต้องการของลูกค้า เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการทำ KM • ผลของ KM ต่อการให้บริการลูกค้า • การเอา KM มาประยุกต์ใช้ในการวัดความพึงพอใจ • ของลูกค้า • KM ช่วยให้มีการปรับปรุงและสร้างนวัตกรรมในการติดตามลูกค้า • KM strategy เชื่อมโยงกับ V/M และ values • การสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ • ผู้นำเป็น Role Model ในเรื่องการเรียนรู้ • ผู้นำมีส่วนร่วม (โดยตรง) ในการพัฒนาผู้นำในอนาคต • KM เป็นส่วนหนึ่งของประเมินผลการดำเนินการ • นำ KM มาใช้ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ • กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญๆ • ใช้ KM เพื่อปรับปรุง Key processes • การบูรณาการ KM กับ เครื่องมือ/เทคนิค การ • ปรับปรุงต่างๆ ที่องค์กรใช้ • ความเชื่อมโยงของตัวชี้วัดผลของ KM กับตัวชี้วัด • ของ Key processes • ทรัพยากรสนับสนุนการดำเนินการ KM • ระบบการติดตามความคืบหน้าการทำ KM การวัดผล KM • ความพร้อมและการเข้าถึงความรู้ที่บุคลากรต้องการใช้ • การเก็บรวมรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร • ระบบ IT เชื่อถือได้ ไม่มีข้อมูลรั่วไหล และใช้ง่ายไม่ยุ่งยาก • การถ่ายทอดความรู้และเก็บรวมความรู้ระหว่างองค์กรและ • ลูกค้า ผู้ส่งมอบ และคู่ความร่วมมือ • การค้นหา แบ่งปันและนำ Best Practices ไปปฏิบัติ • โครงสร้างที่เอื้อต่อการทำKM • KM เป็นปัจจัยหนึ่งที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน • KM ช่วยในการกำหนดกำหนดคุณลักษณะ และทักษะของบุคลากร • พฤติกรรมที่สะท้อนว่าองค์กรมีการการจัดการความรู้ • KM เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรม • การผลักดันให้บุคลากรใช้ความรู้และทักษะใหม่ในการทำงาน • และคงความรู้ไว้กับองค์กรในระยะยาว • การถ่ายทอดความรู้จากบุคลากรที่กำลังจะลาออก หรือเกษียณอายุ • ปัจจัยของการจัดการความรู้ที่มีผลต่อความพึงพอใจ ความผาสุก • และการสร้างแรงจูงใจแก่บุคลากร 7. ผลลัพธ์ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้