1.34k likes | 1.99k Views
การพัฒนา คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ Public Sector Management Quality Award (PMQA). รู้ทัน PMQA / KM. รู้ทัน PMQA/KM. ในฐานะได้รับมอบหมายเป็นอนุกรรมการด้านการพัฒนาองค์กร หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ ปี 2551
E N D
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPublic Sector Management Quality Award (PMQA)
รู้ทัน PMQA/KM • ในฐานะได้รับมอบหมายเป็นอนุกรรมการด้านการพัฒนาองค์กร หมวด3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ ปี 2551 • ในฐานะอยู่ในหน่วยงานที่ต้องจัดทำระบบคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล ว่าด้วยความสามารถห้องปฏิบัติการ • ไม่ใช่ตัวแทนของผู้รับผิดชอบจัดทำPMQA ของกรมปศุสัตว์ • ไม่ใช่การพูด เรื่องการนำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน
จุดประสงค์การบรรยาย • เข้าใจ (รู้ทัน) PMQA • คิด วิเคราะห์ ประยุกต์นำมาใช้ให้ สอดคล้องกับองค์กร และนโยบายกรมปศุสัตว์(หากต้องทำแบบ….!!!)
หัวข้อ • รู้จัก PMQA • รู้จัก KM • เข้าใจการดำเนินงาน PMQA ของกรมปศุสัตว์ • ความแตกต่างของจุดประสงค์การจัดทำ ISOVS PMQA
ทำไมต้องทำPMQA กำหนดใช้ตามแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย(2546-2550) การดำเนินการตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
หนังสือราชการภายในบันทึกข้อความ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๑ หนังสือยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ แผ่นพับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕
http://www.opdc.go.th/uploads/files/strategies_new2.pdf เอกสาร 69 หน้า
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ วิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการไทยคือ ระบบราชการไทย เก่ง ดี มีส่วนร่วม ตอบสนองทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ระบบราชการไทยที่พึงประสงค์ • ประชาชนเป็นศูนย์กลาง • ปรับขนาดราชการและกำลังคน เพื่อเปลี่ยนหน้าที่เป็นเพียงผู้สนับสนุน • ประสานกับฝ่ายการเมืองเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ • พร้อมและมีทัศนคติทำงานเป็นเครือข่าย ร่วมมือกับภาคส่วนอื่นๆในสังคม • ขีดความสามารถรับรู้ เรียนรู้และคาดการณ์ล่วงหน้า รวมถึงยืดหยุ่น คล่องตัว เปลี่ยนแปลงและริเริ่มสร้างนวัตกรรม • สร้างระบบธรรมาภิบาลของตนเองให้เกิดความโปร่งใส • ความเป็นเลิศในการปฏิบัติงาน • แสวงหา พัฒนา และธำรงรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ค่านิยมและกระบวนทัศน์อันเหมาะสมกับการปฏิบัติงานแนวใหม่
ไม่ใช่ ยกเลิกหน่วยงาน ใช่ แนวทางการวิเคราะห์บทบาทภารกิจของหน่วยงานของรัฐ • ภารกิจ/งานนั้นยังจำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่? 2. ภารกิจ/งานนั้นมีหน่วยงานใดปฏิบัติอยู่แล้วหรือไม่? 3. ภารกิจ/งานนั้นเป็นภารกิจหลักใช่หรือไม่? 4. ภารกิจ/งานนั้นสามารถมอบอำนาจหรือกระจายอำนาจไปให้ราชการส่วนภูมิภาคหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการได้หรือไม่? 5. ภารกิจ/งานนั้นสามารถดำเนินการโดยจัดตั้งเป็นหน่วยงาน ของรัฐรูปแบบอื่นได้หรือไม่? 6. ภารกิจ/งานนั้นจำเป็นต้องดำเนินการโดย ภาครัฐทั้งหมดได้หรือไม่ 7.ภารกิจ/งานนั้นมีการทบทวนอำนาจหน้าที่ การจัดโครงสร้างระบบงาน และการใช้ทรัพยากรที่เหมาะสมหรือไม่? ไม่ใช่ ใช่ ยกเลิก/รวม/โอนงาน ไม่ใช่ แปรสภาพ/จ้างเหมา ใช่ ไม่ได้ ได้ โอนถ่าย ไม่ใช่ ใช่ ตั้งเป็นหน่วยงานรัฐรูปแบบอื่น ไม่ใช่ จ้างเหมา ใช่ ไม่ใช่ วางแผนพัฒนาองค์กร ใช่ จบการวิเคราะห์
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาระบบราชการไทย • สร้างความเป็นเจ้าของ ในการบริหารการเปลี่ยนแปลง • ร่วมเป็นเจ้าภาพในการพัฒนาระบบราชการ
ทำไมระบบราชการต้องพัฒนา?ทำไมระบบราชการต้องพัฒนา? คำตอบ: ราชการไทยต้อง ยั่งยืน
ที่มาของ PMQA พ.ศ. 2545 ปฏิรูปราชการครั้งใหญ่
ทำไมต้อง PMQA • ราชการไทยต้องการการเปลี่ยนแปลง เพื่อความยั่งยืน เป็นที่ต้องการของประชาชน • การเปลี่ยนแปลง คือ ต้องมีระบบคุณภาพ!!! • ระบบคุณภาพ คือระบบเพื่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ • ทำไม ระบบคุณภาพ ต้องเป็น PMQA?
ระบบคุณภาพตาม WTO National standard (ISOยอมรับความเท่าเทียมพื้นฐานในกลุ่มประเทศภาคพื้นยุโรป Bievre,2005) Specific standard ISO,FTA,ข้อตกลงร่วมทางการค้าetc Law (ความปลอดภัย ซื่อตรง ถูกกฎหมาย)
PMQA(Public Sector Management Quality Award) รางวัลคุณภาพแห่งชาติของ USA (Malcolm Baldrige National Quality Award:1987) ร่วมกับ!!! Thailand Quality Award: TQA (2002:2545)
inspection แนวความคิดของระบบคุณภาพ Quality control Quality assurance Total Quality Management Total Quality Assurance
ระบบคุณภาพคือการประยุกต์TQM TQM is a management philosophy that seeks to integrate all organizational functions to focus on meeting customers needs and organizational objectives
กพร: PMQA • เริ่มคิด เริ่มทำ 2545 • อบรมๆๆๆๆๆๆ (โดยทีมงาน กพร/ บริษัทที่ กพรกำหนดรายชื่อ) • กพร เปลี่ยนแนว/ เพิ่มงาน/ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง • กลุ่มงานพัฒนาฯ • จัดทำเอกสาร • ตอบคำถาม • ประเมินตนเอง • ส่งหมวด เพื่อส่งผลการดำเนินงานประกวด
ทุกหน่วยราชการจัดทำ PMQAตามแนวทางที่ กพร กำหนด
ขั้นตอนเตรียมความพร้อมขั้นตอนเตรียมความพร้อม แต่งตั้งคณะทำงาน จัดทำแผนดำเนินการ (Road map) จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้ เตรียมความพร้อมคณะทำงาน 2. ขั้นตอนพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร จัดทำผลการดำเนินงานขององค์กร*** ประเมินองค์กรด้วยตนเอง จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุงองค์กร จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.) การดำเนินงานการตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทำเอกสารเสนอ เอกสารสวย อ่านน้อยๆ รูปหรือแผนภูมิชัดเจน
แนวทาง กพร กำหนดในการจัดทำระบบคุณภาพราชการ • ปี 2549 ส่งเอกสาร • ปี 2550 เอกสารควรอ่านง่าย(ตอบคำถาม/เน้นแผนภูมิ) • ปี 2551 ประเมินผลตนเอง • ปี 2552 เลือกหมวดส่ง 2 หมวดประกวด • ปี 2553 กำหนดเป็นตัวชี้วัด การจัดทำระบบคุณภาพราชการ
ระบบคุณภาพ : ระบบว่าด้วยการรับรองคุณภาพ ขาดหน่วยงานรับรองระบบคุณภาพที่มีความสามารถ ระบบคุณภาพที่จัดทำ ก็ยังน่าสงสัยในระบบคุณภาพ
ข้อกำหนด PMQA ข้อกำหนด Malcolm Baldrige National Quality Award
ยานอนหลับชั้นดี ทำความเข้าใจข้อกำหนด PMQA
ทำความรู้จักไปทีละหมวดทำความรู้จักไปทีละหมวด รู้จักเจตนารมณ์ พิจารณาข้อดี ข้อด้อย สิ่งที่ระบบราชการมีหรือขาดในปัจจุบัน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด 2การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล หมวด 1 การนำองค์กร 7ผลลัพธ์การ ดำเนินงาน 3การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6 การจัดการ กระบวนการ 4การวัด วิเคราะห์ และ การจัดการองค์ความรู้
1.1 การนำองค์กร การกำหนดทิศทางของส่วนราชการ การกำกับดูแลตนเองที่ดี การทบทวนผลการดำเนินงานของราชการ 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคม การดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ ผู้นำ หมวด 1 การนำองค์กร
หมวด 1 การนำองค์กร: 1.1 การนำองค์กร • การกำหนดทิศทางของส่วนราชการ • วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว ค่านิยม • การคำนึงถึงผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและความโปร่งใส • วิธีการสื่อสาร2ทางกับบุคคลกรภายในและผู้รับบริการให้รับรู้นโยบาย • การสร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ มีจริยธรรมและให้อำนาจตัดสินใจ • การกำกับดูแลตนเองที่ดี • ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติราชการ การป้องกันทุจริต ประพฤติมิชอบและรักษาผลประโยชน์ผู้รับบริการและมีส่วนได้ส่วนเสีย • การทบทวนผลการดำเนินงานของราชการ • ตัวชี้วัด วิธีการทบทวน ประเมิน นำผลมาใช้ จัดลำดับความสำคัญ สร้างนวัตกรรม กำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง • วิธีการประเมินผู้บริหารทุกระดับ และวิธีการนำผลประเมินไปปรับปรุงองค์กร
หมวด 1 การนำองค์กร: 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม • ความรับผิดชอบต่อสังคม • กระบวนการจัดการและตัวชี้วัด กรณีผลการปฏิบัติมีผลทางลบต่อสังคม • กระบวนการเชิงรุก วิธีคาดการณ์ผลล่วงหน้า • การดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม • ผู้บริหารกำหนดวิธีปฏิบัติการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม • การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ • ผู้บริหารให้ส่วนราชการมีวิธีสนับสนุนชุมชน มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน
เจตนารมณ์หมวด 1 หากเข้าใจและสามารถจัดทำหมวด 1 เป็นรูปธรรม • ผู้นำต้องให้คำมั่นสัญญาในการนำองค์กรไปสู้เป้าหมายที่กำหนด • ผู้นำต้องศึกษาเข้าใจองค์กรอย่างถ่องแท้ เป็นผู้นำวิสัยทัศน์ • ผู้นำ ต้องทำตาม ระบบที่วางไว้และติดตามให้ระบบเคลื่อน • ผู้นำมองภาพเชิงองค์รวม(system approach) • ผู้นำกำหนดสังคมเป็นผู้รับบริการ
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7ผลลัพธ์การ ดำเนินงาน หมวด 1 การนำองค์กร 3การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6การจัดการ กระบวนการ 4การวัด วิเคราะห์ และ การจัดการองค์ความรู้
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายถอดกลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปปฏิบัติ การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ การคาดการณ์ผลการดำเนินงาน หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ • กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ • ระบุขั้นตอน ผู้เกี่ยวข้อง แผนยุทธศาสตร์ระยะสั้นและยาว • ปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์จัดทำกลยุทธ์ จุดแข็งจุดอ่อน โอกาส ความท้าทาย • เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และกลยุทธ์ • ลำดับความสำคัญ • ความสมดุลของโอกาส ความท้าทายและผลประโยชน์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ วิธีการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน การจัดสรรทรัพยากร แผนหลักการพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องแผน ตัวชี้วัด การคาดการณ์ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานตามเป้า ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบคู่แข่ง หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์2.2 การถ่ายถอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ
เจตนารมณ์หมวด 2 หน่วยราชการต้อง ทำงานแบบมีเป้าหมายเพื่อติดตามผล จะบรรลุเป้าหมาย ต้องรู้จักการวางแผนกลยุทธ์ วางแผนบนพื้นฐานข้อมูลที่เชื่อถือได้ และต้องมีการเปรียบเทียบกับหน่วยงานที่เหมาะสม ที่มากองแผนงานจัดอบรม ประชุม สัมมนา การทำแผนยุทธศาสตร์ของกรมปศุสัตว์และได้เอกสาร : แผนราชการสี่ปีกรมปศุสัตว์(2552-2555)!!!!!!!
วิธีการทำแผนกลยุทธ์ เพื่อความเข้าใจตรงกัน และอาจจะเป็นประโยชน์กับหน่วยงาน ควรจัดเป็น workshop
วิธีทำแผนกลยุทธ์ของกรมฯวิธีทำแผนกลยุทธ์ของกรมฯ • ผู้บริหารประชุม กำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ ตามคำแนะนำของบุคคลภายนอก ที่เชี่ยวชาญด้านการจัดทำกลยุทธ์ • คณะผู้บริหารทำความเข้าใจองค์กร เชิญผู้บริหารกรม 400 ท่านจัดทำ SWOT analysis • SWOT คือ ปัจจัยภายใน : จุดแข็งStrength จุดอ่อน Weak ปัจจัยภายนอก : โอกาส Opportunity คุกคาม Threath
วิธีทำ SWOT analysis ของกรม • ทุกคนเสนอโดยการเขียน S/W/ O/ T เป็นอิสระ เท่าใดก็ได้ • จัดกลุ่ม S W O T ความคิดที่เสนอมาของทุกคน • จัดเรียงลำดับคะแนน ของทั่งสี่กลุ่ม • กำหนด 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ จากคะแนนที่สูงสุดในแต่ละกลุ่ม • ให้แต่ละกอง สำนักฯ ส่วนราชการกรม คิดกลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์เอง!!!!!
ข้อโต้แย้ง วิธีกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมฯ • นำจุดอ่อน และอุปสรรค มากำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เพื่อให้ไปกำหนดกลยุทธ์ภายหลัง(กำหนดกันเอง) • ขัดแย้งกับ หลักการนำจุดอ่อน อุปสรรค มากำหนดวิสัยทัศน์
องค์ประกอบแผนราชการสี่ปี กรมปศุสัตว์ วิสัยทัศน์ :เป็นองค์กรนำการปศุสัตว์ไทยสู่ตลาดโลก พันธกิจ • วิจัยพัฒนา ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี • พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน • ป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคสัตว์ • กำกับ ดูแลและอำนวยความสะดวกให้เป็นไปตามกฎหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์(ตัวชี้วัด) กลยุทธ์/วิธีดำเนินการ แต่ละส่วนของกรมฯ กำหนด
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ประเด็นยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ • เร่งรัดดำเนินการตามภารกิจของกรมให้ตอบสนองต่อความต้องการด้านปศุสัตว์ของประเทศ • ส่งเสริมวิจัยและพัฒนาให้กรมเป็นศูนย์กลางภูมิปัญญาด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน • การสร้างและพัฒนาเครือข่ายด้านปศุสัตว์ให้เข้มแข็ง • การบริหารจัดการให้เข้มแข็งและเพิ่มสมรรถนะบุคลากร
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์(ตัวชี้วัด) • ประเด็นยุทธศาสตร์ ต้องชัดเจนถึง เป้าการวัด(measure of outcome) • ตัวอย่างของกรมฯ“ส่งเสริมวิจัยและพัฒนาให้กรมเป็นศูนย์กลางภูมิปัญญาด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน” • ควร “วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิ ต สุขภาพปศุสัตว์คุณภาพสินค้าปสุสัตว์” เป้าประสงค์ คือ GDP ภาคเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละสิบต่อปี • กลยุทธ์/โครงการ เช่น วิจัยพัฒนาวิธีทดสอบใหม่ๆที่ลดต้นทุนและใช้ได้จริง ( ผล output วิธีทดสอบได้ผลเท่า/ ดีกว่าเดิมแต่เร็วหรือราคาถูก ส่งผล outcome ลดมูลค่าการผลิตสินค้าเกษตรมีคุณภาพ)