1 / 39

การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อทางคลินิก

การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อทางคลินิก. บุศรา ศิริวันสาณฑ์ 8 มีนาคม 2553. ยาหย่อนกล้ามเนื้อ Neuromuscular blocking agent Muscle relaxant History 19 th century – Curare 1942 – d-Tubocurarine 1957 Nobel Prize in Medicine - Suxamethonium.

landry
Download Presentation

การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อทางคลินิก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อทางคลินิกการใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อทางคลินิก บุศรา ศิริวันสาณฑ์ 8 มีนาคม 2553

  2. ยาหย่อนกล้ามเนื้อ Neuromuscular blocking agent Muscle relaxant History • 19th century – Curare • 1942 – d-Tubocurarine • 1957 Nobel Prize in Medicine - Suxamethonium http://cheappharmacyrx.info/blog/wp-content/uploads/2009/12/114.gif

  3. Neuromuscular junction http://www.colorado.edu/intphys/Class/IPHY3430-200/image/figure7m.jpg

  4. Neuromuscular blocking agent (NMBA) http://www.ispub.com/ispub/ijos/volume_7_number_2_7/orthopaedic_surgery_implications_of_a_novel_encapsulation_process_that_improves_neuromuscular_blockade_and_reversal/nmb-fig1.jpg

  5. Neuromuscular blocking agent (NMBA) History in Medicine • 19th century – Curare • 1942 – d-Tubocurarine • 1957 – Suxamethonium • 1968 – Pancuronium • 1979 – Vecuronium • 1983 – Atracurium • 1994 – Rocuronium • 1995 – Cisatracurium

  6. Neuromuscular blocking agents (NMBA) Medical uses

  7. Neuromuscular blocking agents (NMBA) Depolarizing Non-Depolarizing Acted as Ach-competitive inhibitor Deactivated the receptor No depolarization and muscle contraction • Acted as Ach but last longer • Activated the receptor • Caused the depolarization, muscle contraction and after that paralysation • Resisted to acetylcholine esterase

  8. Depolarizing NMBA Suxamethonium Succinylcholine (SCh) • Butyrylcholinesterase also known as pseudocholinesterase • Phase I block Phase II block • Advantage • Fastest onset • Shortest duration • Disadvantage • Bradycardia • Fasciculation • Hyper K • MH • Prolong block • Atypical plasma cholinesterase

  9. Depolarizing NMBA Suxamethonium Succinylcholine (SCh) http://cheappharmacyrx.info/blog/wp-content/uploads/2009/12/115.gif

  10. Non-depolarizing NMBA Aminosteriod Benzylisoquinolinium Atracurium Cisatracurium • Pancuronium • Vecuronium • Rocuronium

  11. Non-depolarizing NMBA • Ideal NMBA • Non-depolarizing action • Fast onset • Short duration • Easily reversible by cholinesterase inhibitor • No histamine release • No cardiovascular or autonomic side effect • No accumulation

  12. Ideal NMBA

  13. การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อทางคลินิกการใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อทางคลินิก Clinical uses of NMBA

  14. Drug Interaction • ปฏิกิริยาร่วมกันระหว่างยาหย่อนกล้ามเนื้อชนิด nondepolarizing • มีผลเสริมฤทธิ์ของยาทั้งแบบ additive และ synergistic response • ควรคำนึงไว้เสมอว่ายาตัวที่สองที่ให้ไปอาจออกฤทธิ์นานกว่าปกติได้

  15. Drug Interaction • ปฏิกิริยาร่วมกันระหว่าง succinylcholine และยาหย่อนกล้ามเนื้อชนิด nondepolarizing • Precurarization ด้วย nondepolarizing อาจต้องใช้ succinylcholineในขนาดที่สูงขึ้น • การให้ nondepolarizing หลังจากได้ succinylcholine ไปแล้วกลับให้ผลตรงข้ามโดยจะเสริมฤทธิ์กันและมีฤทธิ์หย่อนกล้ามเนื้อนานขึ้นได้

  16. Drug Interaction • ปฏิกิริยาร่วมกับยาระงับความรู้สึก • ยาระงับความรู้สึกมีฤทธิ์หย่อนกล้ามเนื้ออยู่บ้างแล้วโดยมีฤทธิ์เรียงตามลำดับดังนี้ desflurane > sevoflurane > isoflurane > halothane > nitrous, barbiturate, opioid, propofol • ดังนั้นหากใช้ยาระงับความรู้สึกในขนาดสูงควรพิจารณาลดปริมาณยาหย่อนกล้ามเนื้อลงด้วย

  17. Drug Interaction • ปฏิกิริยาร่วมกับยาปฎิชีวนะ • Aminoglycosideเช่น gentamicin, neomycin, streptomycin • ยาอื่นๆ เช่น clindamycin, vancomycin • การแก้ฤทธิ์ด้วย anticholinesteraseยากขึ้น • ควรจะประเมิณการหมดฤทธิ์ของยาหย่อนกล้ามเนื้อให้แน่ใจก่อน • ควรช่วยหายใจไปจนกว่าฤทธิ์ยาจะหมดไปเอง

  18. Drug Interaction • ปฏิกิริยาร่วมกับภาวะอุณหภูมิกายต่ำ (hypothermia) • อัตราการทำลายและการขับยาออกจากร่างกายลดลง • Hofmann elimination ก็มีอัตราลดลงด้วย จึงมีรายงานว่า atracurium ออกฤทธิ์นานขึ้นมากกว่าปกติในภาวะอุณหภูมิกายต่ำ

  19. Drug Interaction • ปฏิกิริยาร่วมกับ แมกนีเซียม และ แคลเซียม • Mg :ใช้รักษาภาวะครรภ์เป็นพิษ (eclampsia) • เสริมฤทธิ์nondepolarizing • แก้ฤทธิ์ด้วย neostigminยากขึ้น • ควรเริ่มใช้ยาด้วยขนาดที่ลดลง แล้วค่อยๆเพิ่มขนาดยาจนพอเหมาะ ร่วมกับการติดตามด้วย nerve stimulator • ปฎิกิริยากับ succinylcholine ไม่ชัดเจน • Ca :hyperparathyroidism, hypercalcemia • ลดการตอบสนอง ยาออกฤทธิ์สั้นลง จึงอาจต้องเพิ่มปริมาณยาในผู้ป่วยกลุ่มนี้

  20. Drug Interaction • ปฏิกิริยาร่วมกับยาอื่นๆ

  21. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเด็ก • Succinylcholine  bradycardia, rhabdomyolysis, hyperkalemia,acidosis, cardiac arrest • Non-depolarizing NMBA ใช้ได้ดีในผู้ป่วยเด็กเพราะยาออกฤทธิ์เร็วกว่าในผู้ใหญ่ และมีฤทธิ์เหลือตกค้างน้อยในระยะหลังผ่าตัด • ขนาดยาเท่ากับผู้ใหญ่ แต่การขับยาลดลงจึงควรบริหารยาห่างขึ้น

  22. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยสูงอายุ • ยาออกฤทธิ์แรงขึ้นและนานขึ้นเนื่องจากลด • การกระจายยา • การทำลายยา, การขับยาออกจากร่างกาย • การตอบสนองของยาที่ตำแหน่ง neuromuscular junction • ลดขนาดในการเติมยาแต่ละครั้ง และเติมยาให้ห่างขึ้นกว่าปกติ • ผลการตอบสนองมักไม่แน่นอน • Hofmann elimination และ ester hydrolysis ไม่เปลี่ยนแปลงในคนสูงอายุ แต่ cisatracuriumอาจเริ่มออกฤทธิ์ช้ากว่าปกติได้

  23. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อในคนอ้วน • ยังไม่มีข้อสรุปเรื่องผลของยาในคนอ้วนชัดเจน • มีแนวโน้มว่าการขับยาลดลงในคนกลุ่มนี้ • ขนาดของยาที่ให้ ควรเพิ่มประมาณ 20% จากที่คำนวณได้ตาม lean body mass จะปลอดภัยกว่าให้ตามน้ำหนักจริงของผู้ป่วย

  24. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยโรคไตวาย • ออกฤทธิ์นานขึ้น ไม่แนะนำให้ใช้ยาที่ออกฤทธิ์นาน • Atracurium และ cisatracurium จึงเป็นยาที่ใช้ได้ดีแต่ให้ระวังการสะสมของ laudanosine หากต้องใช้ ต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ • Rocuronium มีการขับออกทางไตลดลง แต่เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มี volume of distribution เพิ่มขึ้น ขนาดยาที่ใช้จึงไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง แต่ยังควรต้องระวังในกรณีที่ต้องบริหารยาซ้ำๆนานๆจะมีการสะสมของยาได้

  25. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยโรคตับ • ฤทธิ์ของยากลุ่ม aminosteroidยาวนานขึ้น • volume of distribution เพิ่มขึ้นมาก ดังนั้นต้องเพิ่ม initial dose กว่าคนปกติเพื่อให้ได้ระดับยาที่ต้องการ แต่ฤทธิ์ของยาจะอยู่นานขึ้นกว่าปกติ • พบว่า 20% ของ pancuroniumและ 40%ของ vecuroniumขับออกทางน้ำดี ดังนั้นจึงควรระวังในผู้ป่วยที่มีทางเดินน้ำดีอุดตัน • atracurium, cisatracuriumไม่ค่อยมีผลกระทบแต่ขนาดยาอาจต้องเพิ่มขึ้นตาม volume of distribution และคำนึงถึงการสะสมของ laudanosineด้วย

  26. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของ neuromuscular receptor

  27. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยกลุ่ม Up-regulation • Up-regulation  ดื้อต่อnondepolarizing แต่ไวต่อ succinylcholine • เกิดขึ้นตั้งแต่ 72 ชั่วโมงหลังอุบัติเหตุ • การดื้อต่อ nondepolarizingใช้เวลาหลายเดือนถึงหลายปีจึงจะกลับมาเป็นปกติ • ตอบสนองรุนแรงต่อ succinylcholine เพิ่มระดับ K+ VT, VF และ cardiac arrest • ควรหลีกเลี่ยง succinylcholineตั้งแต่ 24-48 ชั่วโมงหลังเกิดอุบัติเหตุจนถึง1-2 ปีหลังจากแผลหาย

  28. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วย neuromuscular disorder • ผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะไวต่อยาหย่อนกล้ามเนื้อมาก • Guillan-Barre syndrome • Up-regulation • การให้ succinylcholine ถือเป็นข้อห้ามเพราะจะทำให้มีการเพิ่มขึ้นสูงของระดับโพแตสเซียมจนถึงตายได้ • Myastenia gravis(MG) • Down-regulation

  29. MG http://jama.ama-assn.org/content/vol298/issue1/images/medium/jmn70071fa.jpg

  30. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • Myasthenia Gravis(MG) • Down-regulation ทำให้มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง • ดื้อต่อ succinylcholine • การรักษาด้วย pyridostigmin หรือ plasmapheresis จะลดปริมาณ cholinesterase ในกระแสเลือด ทำ succinylcholine ออกฤทธิ์นานขึ้นได้ • ดังนั้นถ้าต้องใช้ succinylcholine ในผู้ป่วย MG การตอบสนองอาจเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ได้

  31. การบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มการบริหารยาหย่อนกล้ามเนื้อในผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • Myasthenia Gravis (MG) • ไวต่อ nondepolarized อย่างมาก ควรลดขนาดลงเหลือประมาณ 1/10 – 1/5 ของปกติ • atracurium และ cisatracurium เป็นยาที่นิยมใช้ • pyridostigmin ที่ใช้รักษาทำให้เกิด • 1) ความไวต่อ nondepolarizing ลดลง • 2) succinylcholine ออกฤทธิ์นานขึ้น • 3) การแก้ฤทธิ์ของยาหย่อนกล้ามเนื้อเมื่อเสร็จการผ่าตัดยากขึ้น • ไวต่อยาระงับความรู้สึกทุกชนิดมาก บางรายอาจทำผ่าตัดโดยไม่ใช้ยาหย่อนกล้ามเนื้อได้ • หลังเสร็จการผ่าตัดควรพิจารณาเฝ้าระวังเรื่องการหายใจต่อใน ICU

  32. การแก้ฤทธิ์ยาหย่อนกล้ามเนื้อการแก้ฤทธิ์ยาหย่อนกล้ามเนื้อ • Anticholinesterase • Neostigmine • Anticholinergic • Atropine • Sugammadex

  33. การแก้ฤทธิ์ยาหย่อนกล้ามเนื้อการแก้ฤทธิ์ยาหย่อนกล้ามเนื้อ Factors affecting reversal • Block intensity • Anticholinesterase dose • Muscle relaxant administered • Age • Renal failure • Acid-base balance

  34. THAI study database from Febuary 2003 - January 2004 • Incidence of reintubation after planned extubation • was 27:10,000 • Increased incidence in extream age group • Residual effect of NMBA and anesthetic agent • was 53-57%

  35. 51 hospitals • 1996 incident reports from January - June 2007 • Incident of reintubation was 10%

  36. Thai AIMS data base from January to June 2007 • Total 187 incidents of extubation failure • 129 cases (70.1%) were directly related to anesthesia • Human factors particularly including lack of experience and inappropriate decision-making were considered in 99.2%, are directly related to anesthesia reintubation group

  37. การแก้ฤทธิ์ยาหย่อนกล้ามเนื้อการแก้ฤทธิ์ยาหย่อนกล้ามเนื้อ Assessment of the adequacy of antagonism of NMBA • Responses to nerve stimulator (TOF ratio 0.9) • Head lift for 5 seconds • Tongue protrusion • Tongue depressor • Hand grip strength • Maximum negative inspiratory pressure (> - 25 cm H2O)

  38. Thank You

More Related