130 likes | 374 Views
แนว ทางการจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ( KM ใน PMQA ) วันที่ 12 มกราคม 2553 ณ ห้องประชุม ลักษณ วิจารณ์ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ โดย นางสาวสมพร อินทร์แก้ว นางสาว ภัคนพิน กิตติ รักษ นนท์. สำนักงาน ก.พ.ร กำหนดแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาระบบ
E N D
แนวทางการจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (KM ใน PMQA) วันที่ 12 มกราคม 2553 ณ ห้องประชุมลักษณวิจารณ์ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ โดย นางสาวสมพร อินทร์แก้ว นางสาวภัคนพิน กิตติรักษนนท์
สำนักงาน ก.พ.ร กำหนดแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาระบบ การจัดการความรู้อย่างต่อเนื่องให้กับทุกส่วนราชการ ดังนี้ ● กำหนดให้การจัดทำและบริหารแผนการจัดการความรู้ระดับกรมให้สำเร็จ เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 4 (ข) : การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ● ให้ทุกส่วนราชการจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ ● การดำเนินการ พิจารณา(ตามแนว ADLI)จาก 1. แผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ (ที่สามารถตอบรับ ประเด็นยุทธศาสตร์) ตามแนวทางที่กำหนด 2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ ● เกณฑ์วัดผลลัพธ์การดำเนินงาน : พิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินกิจกรรมได้ครบถ้วนทุกกิจกรรมตามแผนอย่างน้อย 3 องค์ความรู้
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธิ์ 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 1.การนำองค์กร 7.ผลลัพธ์การดำเนินการ 3.การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6.การจัดการกระบวนการ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
แนวทางการจัดทำแผนการจัดการความรู้ในหมวด 4 (ข) ● เลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ จาก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างในคำรับรอง การปฏิบัติราชการมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ ● องค์ความรู้ที่เลือกไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้ที่ส่วน ราชการจัดการความรู้ในปีก่อน ๆ ● เลือกตัวชี้วัด(KPI)ตามคำรับรองที่มีนัยสำคัญ อย่างน้อย 1 KPI ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ เป็นเกณฑ์วัดผลสำเร็จของการจัดการความรู้
แนวทางการจัดการทำแผนการจัดการความรู้ในหมวด 4 (ข) (ต่อ) * แผนการจัดการความรู้ 1) บรูณาการ 7 ขั้นตอนของ KMP + 6 องค์ประกอบ ของ CMP 2) มีกิจกรรมยกย่องชมเชยที่เป็นรูปธรรม 3) มีกิจกรรมที่แสดงการวัดผลลัพธ์ของการนำองค์ความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ * ผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ(CEO) และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) ของส่วนราชการลงนามรับรอง
แนวทางการจัดทำแผนการจัดการความรู้ในหมวด 4 (ข) (ต่อ) ● ดำเนินกิจกรรมตามแผนฯได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและแต่ละกิจกรรมครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ● ติดตามผลงานและความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ + เก็บหลักฐานเพื่อรับการตรวจประเมินจาก TRIS และ เจ้าหน้าที่ ก.พ. ● วัดผลลัพธ์ความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินกิจกรรม (Output + Outcome)
การจัดการความรู้ที่สำคัญและผลักดันความสำเร็จต่อการพัฒนากรมสุขภาพจิตในภาพรวมการจัดการความรู้ที่สำคัญและผลักดันความสำเร็จต่อการพัฒนากรมสุขภาพจิตในภาพรวม (ตัวชี้วัดที่ 50.3) ระดับความสำเร็จในการจัดการความรู้ นโยบาย การจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2553 KM ใน PMQA (ตัวชี้วัดที่ 36) ระดับความสำเร็จ ในการจัดการความรู้ PMQA หมวด 4 KMกลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการแพทย์ (ตัวชี้วัดที่ 4)
ประเด็น ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย 2553 หน่วยงานหลัก (PM) ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดสำคัญ และ หน่วยงานหลัก ของการจัดการความรู้(ตัวชี้วัดที่ 36 : KM ใน PMQA) ยุทธศาสตร์ที่ 1 : เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต - ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการบริการบำบัดรักษาและเฝ้าระวังดูแลอย่างต่อเนื่อง (ในภาพรวม) (ตัวชี้วัดที่ 3เชื่อมโยงกับคำรับรองฯ ระดับ กระทรวงฯ) - ระดับความสำเร็จในการรณรงค์ / ถ่ายทอดเพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ประชาชนในเรื่องสุขภาพจิตวัยทำงานและวัยสูงอายุ ทั้งในระดับภาพรวมของประเทศและระดับพื้นที่ (ตัวชี้วัดที่ 17.3) ร้อยละ 80 ของ ผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการบริการบำบัดรักษาและเฝ้าระวังดูแลอย่าต่อเนื่อง โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ ระดับ 5 (ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพจิตวัยทำงานและวัยสูงอายุอย่างถูกต้อง สำนักสุขภาพจิตสังคมและสำนักงานโครงการ TO BE No.1 หน่วยดำเนินการ สำนักสุขภาพจิตสังคม / หน่วยบริการจิตเวช 13 แห่ง / ศูนย์สุขภาพจิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดสำคัญ และ หน่วยงานหลักของการจัดการ ความรู้ (ตัวชี้วัดที่ 36 :KM ใน PMQA) ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ปี2553 หน่วยงานหลัก (PM) ประเด็น ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต - จำนวนจังหวัดที่มีเครือข่ายสถานบริการสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการบริการสุขภาพจิตและจิตเวช (ภาพรวม) (ตัวชี้วัดที่ 18) ระดับ 5 (จังหวัดที่มีเครือข่ายสถานบริการสาธาร รสุข จำนวน 25 จังหวัดได้รับการพัฒนาศักยภาพ ด้านการบริการสุขภาพจิตและจิตเวช โรงพยาบาลสวนปรุง ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านบริการจิตเวช - จำนวนหน่วยบริการจิตเวชผ่านเกณฑ์มาตรฐานบริการจิตเวชเฉพาะทาง (ตัวชี้วัดที่ 24) ระดับ 3 (หน่วยบริการจิตเวชอย่างน้อย 3 แห่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานบริการ โรงพยาบาลศรีธัญญา
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 วิสัยทัศน์ / พันธกิจ วิสัยทัศน์ / พันธกิจ KPI1, KPI2,.. KPIn KPI1, KPI2,.. KPIn KPI1, KPI2,.. KPIn เป้าหมายที่ 2 เป้าประสงค์ที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 2.1 เป้าหมายของตัวชี้วัดที่ 1.1 เป้าหมายของตัวชี้วัดที่ 1.3 องค์ความรู้ที่จำเป็น K 11 องค์ความรู้ที่จำเป็น K 13 ตัวชี้วัด 1.2 ตรวจแบบฟอร์ม เป้าหมายของตัวชี้วัดที่ 1.2 K11 K12 K13 องค์ความรู้ที่จำเป็น K 12 1K : มีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพิจารณาเลือกองค์ความรู้ที่สำคัญในการจัดการความรู้การพิจารณาเลือกองค์ความรู้ที่สำคัญในการจัดการความรู้ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ค่าเป้าหมาย ปี 2553 องค์ความรู้สำคัญ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ 1: เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต - ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการบริการบำบัดรักษาและเฝ้าระวังดูแลอย่างต่อเนื่อง (ในภาพรวม) (ตัวชี้วัดที่ 3เชื่อมโยงกับคำรับรองฯ ระดับกระทรวงฯ) ร้อยละ 80 ของผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการบริการบำบัดรักษาและเฝ้าระวังดูแลอย่างต่อเนื่อง แนวทางการเยี่ยมบ้าน ผู้พยายามฆ่าตัวตาย
เราต้องมีความรู้เรื่องอะไรเราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) กระบวนการการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบรูณ์อย่างไร 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) CoP มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) รูปแบบ 2 ความรู้นั้นให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้น รูปแบบ3 7. การเรียนรู้ (Learning)