1 / 25

การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553

การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553. ผลลัพธ์ที่ผ่านมาของ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค. EPI vaccine coverage rates and disease incidences, Thailand 1977-2008. Pertussis. Diphtheria. Measles. Neonatal Tetanus. Case rate/100,000 (case / 100,000 live births in NNT).

ghada
Download Presentation

การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงบบริการ P&Pปีงบประมาณ 2553

  2. ผลลัพธ์ที่ผ่านมาของบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคผลลัพธ์ที่ผ่านมาของบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

  3. EPI vaccine coverage rates and disease incidences, Thailand 1977-2008 Pertussis Diphtheria Measles Neonatal Tetanus Case rate/100,000 (case / 100,000 live births in NNT) Vaccine coverage แหล่งข้อมูล : สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

  4. อัตราส่วนการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอด • อัตราส่วนการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอด ที่รับไว้เป็นผู้ป่วยใน มีค่าเปลี่ยนแปลงขึ้นลง และมีค่าสูงกว่าเป้าหมาย 18 ต่อ 100,000 หมายเหตุ ค่าที่ได้เฉพาะหญิงตั้งครรภ์และมารดาที่ตายในโรงพยาบาล และรับบริการโดยการใช้สิทธิUC เท่านั้น การคลอดโดยใช้สิทธิUC ประมาณสี่แสนคนต่อปี จากการคลอดทั้งหมด ประมาณแปดแสนคนต่อปี

  5. Percentage of Low-Birth-Weight Newborns (under 2,500 grams), 1990-2006 NHSS Percentage Year Source: Department of Health, Ministry of Public Health

  6. Mortality Rate (per 100,000 pop.)from Preterm Infants NHSS From: National Health Statistic, Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health, Thailand

  7. 2) แหล่งข้อมูล จากรายงาน 0110 รง.5 ปี 2548-2551 1) แหล่งข้อมูล:กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  8. จำนวนการใช้บริการผู้ป่วยนอกสิทธิ UC ของ รพ.สังกัด สป.สธ. หมายเหตุ ผู้ป่วยนอกของปี 2552 เพิ่มขึ้นจากปี 2545 ในอัตรา 32% ที่มาข้อมูล: จากระบบรายงาน0110 รง.5 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

  9. จำนวนการใช้บริการผู้ป่วยในสิทธิUCของ รพ.สังกัดสป.สธ. หมายเหตุ ผู้ป่วยในของปี 2552 เพิ่มขึ้นจากปี 2545 ในอัตรา 23% ที่มาข้อมูล: สกส. และสำนักนโยบายและแผน สปสช.

  10. Mortality Rate (per 100,000 pop.)from All Cardiovascular Diseases (I00 – I99) NHSS ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช.

  11. Mortality Rate (per 100,000 pop.)from Cerebrovascular Diseases (I60 – I69) NHSS ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช.

  12. Mortality Rate (per 100,000 pop.)from HIV Diseases (B20 – B24) NHSS ที่มาข้อมูล : กองทุนเอดส์ สปสช.

  13. การบริหารงบ PPภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า • เริ่มโครงการ • กองทุนสุขภาพตำบล • การตรวจคัดกรอง & • ปรับเปลียนพฤติกรรม • (เฉพาะกลุ่ม non-uc) • บริหารงบ PP ใน 3 รูปแบบ • PP Vertical Program • PP Facility based • 3) PP Community based จัดสรรงบประมาณบางส่วน ตามผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด (PP Performance) 2545-47 2550 2549 2551-52 2553 1. บริหารงบ PP ใน 3 รูปแบบ 1) P&P National Priority and Central Procurement 2) PP Expressed demand 3) PP Area based 2. ปรับ paymentsystem จาก capitation เป็นจ่ายตามผลงาน Itemized ในบางรายการ 2. นำร่องเขตสุขภาพ 1.บริหารงบ PP ใน 4 รูปแบบ 1) PP Vertical Program 2) PP Community based 3) PP Expressed demand (diff. by age group) 4) PP Area based 2. บูรณาการงาน M&E ร่วมกับ สธ. 3. ขยายคัดกรองความเสี่ยง & ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทุกสิทธิ

  14. แนวคิดการบริหารงบ P&P • เป็นการบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัวแก่คนไทยทุกสิทธิ • เพื่อเป็นค่าชดเชยบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ของหน่วยบริการ และสถานพยาบาลที่จัดบริการ P&P • เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุข (P&P) เฉพาะพื้นที่ หรือภาพรวมประเทศ • จังหวัดและเขต เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการ บูรณาการให้เกิดแผนและการบริการ P&P พื้นที่ ภายใต้กรอบการและแนวทางของ สปสช.

  15. สิ่งที่เปลี่ยนแปลงในปี 2553 ปรับโครงสร้างงบประมาณจาก 4 ส่วนเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. National Priority Program & Central Procurement 2. PPExpress demand แยกจัดสรรเป็น 2 ส่วน 2.1 จัดสรรตาม Capitation หักเงินเดือนและ diff. capitation by age group 2.2 จัดสรรตามผลการให้บริการรายItemized โดยจัดสรรตามกลุ่มเป้าหมายประชากร (Target oriented) และกิจกรรมที่กำหนด (Activities – based) 3. รวม PPA + PPC (กองทุนฯตำบล)เป็น PPA เพื่อจัดสรรในลักษณะGlobal budget ระดับเขต สปสช.

  16. กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553 P&P Capitation (199.22 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 64.4 ล้านคน) คำนวณจาก 271.79 บาท ต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.2 ล้านคน P&P Area based (รวม PP Community) (58.41 บาท/คน) NPP &Central Procurement (15.17 บาท/คน) P&P Expressed demand (125.64 บาท/คน) Itemized 10 รายการ (31.79) Capitation (93.85) Area problem (18.41+ ส่วนที่เหลือจากกองทุนตำบล) กองทุน อปท. (40.00) • Diff. by age group • หักเงินเดือน

  17. P&P National Priority and Central Procurement 1) Central Procurement • ค่า Vaccine และระบบ VMI • จัดพิมพ์สมุดบันทึกแม่ & เด็ก และสมุดบันทึกนักเรียน 2) National Priority Program ต่อเนื่องจากปี 2552 • โครงการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาประเทศ • โครงการส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล • โครงการสายใยรักของครอบครัว • โครงการพัฒนาสมรรถนะการจัดการสร้างเสริม • สุขภาพและป้องกันโรค

  18. P&P Expressed Demand เป็นการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรครายบุคคลตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยหน่วยบริการ ซึ่งดำเนินการทั้งในและนอกหน่วยบริการ มีการจัดสรรเป็น 2 ส่วน 1. เหมาจ่ายรายหัว Capitation 2. ตามผลการให้บริการ Itemization

  19. P&P Expressed Demand(Capitation) ครอบคลุมบริการชุดสิทธิประโยชน์ P&P ดังนี้ - การฝากครรภ์ - การตรวจหลังคลอด - การให้ภูมิคุ้มกันโรคในทุกช่วงอายุ - การดูแลสุขภาพและพัฒนาการตามวัยเด็ก - บริการวางแผนครอบครัว - การดูแลสุขภาพช่องปาก - บริการตรวจคัดกรองและการปรับพฤติกรรมสุขภาพทุกกลุ่มวัย - บริการให้สุขศึกษา ความรู้ คำแนะนำ - บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิต - บริการอนามัยโรงเรียน - กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

  20. P&P Expressed Demand(Itemization) • วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการ P&P ที่จำเป็น เพิ่มมากขึ้น 2. เพื่อให้เกิดคุณภาพการบริการ P&P และการดูแลอย่างต่อเนื่อง • หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายชดเชย 1. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการรายบุคคลครบถ้วนตามที่กำหนด 2. มีระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผล รวมทั้งการตรวจสอบการ ให้บริการ( Clinical & Financial Audit )

  21. P&P Expressed Demand( 10 Itemization) • ANC • PNC • FP • EPI • การตรวจคัดกรองTSH • การตรวจสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 6-12 ปีทุกสิทธิ • ตรวจคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงDM,HT,Stroke,Obesity • ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี VIA,จี้เย็น,Pap Smear • ตรวจคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่ป่วย ด้วยโรคเรื้อรัง 5 โรค

  22. P&P Area–based • แนวทาง ดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สปสช. เขต และ เขตตรวจราชการสาธารณสุข ภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการจัดสรรงบของคณะกก. ระดับเขต โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่นและเอกชน • วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในระดับจังหวัดและเขต 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นให้หน่วยบริการจัดบริการเชิงรุกในชุมชน โดย การมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชนให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 3. เพื่อสนับสนุนและจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

  23. P&P Area based • จัดสรรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ อบต./เทศบาล ในอัตรา 40 บาท/ปชก. 2. จัดสรรให้ สปสช.สาขาจังหวัดเพื่อดำเนินงาน P&P สำหรับพื้นที่และชุมชนในอัตรา 18.41 บาท/ปชก. รวมกับส่วนที่เหลือจากการจัดสรรใน ข้อ 1. (ปรับเกลี่ยในระดับประเทศ )

  24. การกำกับติดตามประเมินผลงาน P&P ปี 2553 • แผนการจัดสรร/การเบิกจ่ายงบประมาณ • ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (Composite Indicator) • การกำกับติดตามโดยคณะทำงานร่วม สปสช. และกระทรวงสาธารณสุข • พัฒนาระบบ Audit (Financial & Quality)

  25. ขอบคุณครับ

More Related