400 likes | 732 Views
ผู้ผลิต SMEs เครื่องหนัง อัญมณีและเครื่องประดับ จะใช้ประโยชน์จากข้อตกลง FTA อย่างไร. ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 16 สิงหาคม 2548. Unilateral : ไทยพร้อมลด ภาษีฝ่ายเดียว (ไทยแข่งขันได้). U. การทำงาน ร่วมกัน ระหว่าง ภาคเอกชน กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรฯ.
E N D
ผู้ผลิต SMEs เครื่องหนัง อัญมณีและเครื่องประดับ จะใช้ประโยชน์จากข้อตกลง FTAอย่างไร ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 16สิงหาคม2548
Unilateral : ไทยพร้อมลด ภาษีฝ่ายเดียว (ไทยแข่งขันได้) U การทำงาน ร่วมกัน ระหว่าง ภาคเอกชน กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรฯ Reciprocal : ลดภาษีพร้อม กัน 2 ฝ่าย 2004-2007 (ไทยแข่งขันได้) R Normal : ลดภาษีปกติ 2007-2010(ไทยแข่งขันได้ แต่อาจต้องใช้เวลาปรับตัว) N Sensitive : ไม่ต้องการลด ภาษี (ไทยไม่พร้อมแข่งขัน) S Other : ลดภาษี แบบมี เงื่อนไข (ไทยไม่พร้อมแข่งขัน) X X
อัญมณี สินค้า ออส เตรเลีย สหรัฐฯ อินเดีย ญี่ปุ่น เปรู จีน หนังดิบ หนังฟอก กระเป๋า หนัง เครื่อง แต่งกาย ทำด้วยหนัง เครื่อง หนังอื่นๆ
การลดภาษี ของประเทศคู่ค้าไม่ใช่คำตอบสุดท้ายที่จะช่วยให้ท่านได้ประโยชน์จากข้อตกลง FTA การผลิตให้ได้แหล่งกำเนิดสินค้า อาจจะเป็นคำตอบสำหรับท่าน
ส่วนที่1 ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า กับการได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี ส่วนที่2 กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของ ประเทศที่ทำ FTAกับไทย ส่วนที่ 3 ตัวอย่างข้อเท็จจริงการผลิตอัญมณี และเครื่องประดับกับกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ของอาเซียน และ ACFTA
ส่วนที่1 ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า กับการได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี
ประเทศที่ได้แหล่งกำเนิดสินค้าประเทศที่ได้แหล่งกำเนิดสินค้า จะได้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี ตามข้อตกลง FTA ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1
0% ทำเครื่องประดับเงิน ได้LC>40% 0% ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1 สมมุติกำหนดให้ต้องผลิตสินค้าโดยใช้สัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ Local Content 40% ทำเครื่องประดับเทียม ได้LC >40% Origin Origin
ประเทศที่ไม่ได้แหล่งกำเนิดสินค้าประเทศที่ไม่ได้แหล่งกำเนิดสินค้า จะเสียสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี ตามข้อตกลง FTA ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1
WTO WTO WTO 35 % 35% ทำเพชรสำเร็จรูป ได้LC <40% 0% Origin ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1 กำหนดให้ต้องผลิตสินค้าโดยใช้สัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ Local Content 40% ตัวอย่างสมมุติ ทำเครื่องประดับเทียม ได้LC >40% Origin
ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1 ถ้าประเทศที่ทำ FTAกับไทยเก็บอัตราภาษีนำเข้า 0% กับทุกประเทศที่เป็นสมาชิก WTO สำหรับสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับ กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ภายใต้ จะไม่มีความสำคัญ FTA
ส่วนที่2 กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของ ประเทศที่ทำ FTAกับไทย เจรจาแล้ว ไทย-ออสเตรเลีย, ไทย-นิวซีแลนด์, ไทย อินเดีย (82 รายการ) กำลังเจรจา อาเซียน, อาเซียน-จีน, ไทย-ญี่ปุ่น, ไทย-เปรู, ไทย-สหรัฐฯ
ท่าทีของประเทศต่างๆ ด้านแหล่งกำเนิดสินค้า อัญมณี อาเซียน-จีน อาเซียน อินเดีย นิวซีแลนด์ เปรู ออสเตรเลีย
สถานะการเจรจากฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าสถานะการเจรจากฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า
ทำเครื่องประดับ ได้เกณฑ์ CTH 0%* นำเข้าเนื้ออ่อน พิกัด 7103.10 มาผลิตเครื่องประดับ พิกัด 7113.19 0%* กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้ากรอบ TAFTA 2 เครื่องประดับ พิกัด 7113.19 เกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่ตกลงกัน CTSH (ผลิตได้เกณฑ์ CTH) Origin Origin *อัตราภาษีสมมุติ
ทำเพชรสำเร็จ ได้เกณฑ์ WO 0%* นำเข้าเพชรก้อน พิกัด 7102.31 มาผลิตเพชรสำเร็จ พิกัด 7102.39 0%* กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้ากรอบ TH-NZ 2 เครื่องประดับ พิกัด 7102.39 เกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่ตกลงกัน CTSH (ผลิตได้เกณฑ์ CTSH) Origin Origin *อัตราภาษีสมมุติ
0% ทำเครื่องประดับเงิน ได้LC>40% 0% กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้ากรอบอาเซียน-จีน 2 สมมุติกำหนดให้ต้องผลิตสินค้าโดยใช้สัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ Local Content 40% ทำเครื่องประดับเทียม ได้LC >40% Origin Origin
2 สูตรการคำนวณ Local Contentของอาเซียนในปัจจุบัน การคำนวณทางอ้อม(Indirect way) = มูลค่าวัตถุดิบนำเข้า x 100 < 60% ราคาFOB การคำนวณทางตรง(Direct way) มูลค่าวัตถุดิบในประเทศ + ต้นทุน =+ กำไร + ค่าขนส่ง (มาที่ท่าเรือ) x 100>40% ราคา FOB ได้แหล่งกำเนิด
วัตถุดิบใช้สะสมระหว่างกันในอาเซียน( ) CRO กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของอาเซียนในปัจจุบัน 2 แบบเดิม... 40 นับ 100 (สะสมได้เต็มมูลค่า) โดยประเทศที่ส่งออกวัตถุดิบมาให้สะสม จะได้ภาษี CEPT Full แบบใหม่ ... สะสมโดยนับมูลค่าตามสัดส่วนที่เป็นจริง ซึ่งประเทศที่ส่งออกวัตถุดิบมาให้สะสม จะไม่ได้ภาษี CEPTเนื่องจากได้Local Content ไม่ถึง40% (20-39%) Partial
ไม่ได้ภาษี CEPT ไม่ได้ภาษี ACFTA พม่า ไทย จีน ก้อน ทับทิม นอกอาเซียน ทำทับทิมสำเร็จ มูลค่า100 LC 20% ทำเครื่อง ประดับพลอย LC 35% นำเข้า สินค้า จากไทย ออสเตรเลีย ทอง ไทยไม่สามารถนำมูลค่าที่ซื้อจากพม่า มาสะสมเป็นต้นทุนของไทยได้เลย เนื่องจาก LC<40%ให้ถือว่า ทับทิมสำเร็จมาจากนอกอาเซียน กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) 2 ก่อนวันที่ 1 ก.ค. 48 ตัวอย่างสมมติ...สินค้าอัญมณี..กรณีส่งออกไปจีนภายใต้กรอบ ACFTA Full
ได้ภาษี ACFTA จีน ? นำเข้า สินค้า จากไทย ไทยสามารถนำมูลค่า 20 ที่ซื้อจากพม่า(20% ของ100)มาสะสมรวม เป็นต้นทุนของไทยได้ เนื่องจาก LC>20% กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) 2 หลังวันที่ 1 ก.ค. 48 ตัวอย่างสมมติ...สินค้าอัญมณี..กรณีส่งออกไปจีนภายใต้กรอบ ACFTA Partial ไม่ได้ภาษี CEPT พม่า ไทย ก้อน ทับทิม นอกอาเซียน ทำทับทิมสำเร็จ มูลค่า100 LC 20% ทำเครื่อง ประดับพลอย LC 40% ออสเตรเลีย ทอง
พม่า ไม่ได้ภาษี ACFTA ไม่ได้ภาษี CEPT ไทย จีน ทำตัวเรือน มูลค่า100 LC 30% ประกอบเป็นเครื่อง ประดับเพชร LC 15% *เงินไม่ได้ ขึ้นรูป *เพชรไม่ได้ตกแต่ง นอกอาเซียน นำเข้า สินค้า จากไทย สิงคโปร์ ทำเพชร เจียระไน มูลค่า100 LC 20% ไทยไม่สามารถนำมูลค่าใดๆ จากพม่า และ จากสิงคโปร์ มาสะสมรวมเป็นต้นทุนของไทยได้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุดิบจากนอกอาเซียน กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) 2 ก่อนวันที่ 1 ก.ค. 48 ตัวอย่างสมมติ...สินค้าอัญมณี..กรณีส่งออกไปจีนภายใต้กรอบ ACFTA Full
ได้ภาษี ACFTA จีน นำเข้า สินค้า จากไทย ไทยสามารถนำมูลค่า 30 (30%ของ100) จากพม่า และ 20 จากสิงคโปร์ มาสะสมรวมเป็นต้นทุนของไทยได้ กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) 2 หลังวันที่ 1 ก.ค. 48 ตัวอย่างสมมติ...สินค้าอัญมณี..กรณีส่งออกไปจีนภายใต้กรอบ ACFTA Partial พม่า ไม่ได้ภาษี CEPT ไทย ทำตัวเรือน มูลค่า100 LC 30% ประกอบเป็นเครื่อง ประดับเพชร *เงินไม่ได้ ขึ้นรูป *เพชรไม่ได้ตกแต่ง นอกอาเซียน LC 40% สิงคโปร์ ทำเพชร เจียระไน มูลค่า100 LC 20%
2 สถานะการเจรจากฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ACFTA สินค้าทั่วไป • ใช้วัตถุดิบทั้งหมดในประเทศไทย อาเซียน หรือจีน • Local Content 40% ระหว่างไทย อาเซียน หรือจีน สะสมกัน สินค้าบางรายการ กรณีไม่สามารถผลิตได้ Local Content 40%กำหนดให้สามารถใช้หลักเกณฑ์เฉพาะ (ProductSpecific Rule)ได้ ซึ่งจะเปลี่ยนมาใช้วิธีการเปลี่ยนพิกัดแทน สถานะปัจจุบัน สินค้ากลุ่มแรก (First Package)จำนวน 473 รายการ สามารถใช้วิธีการเปลี่ยนพิกัดศุลกากรได้ อาทิ สิ่งทอ ปลาแซลมอนกระป๋อง ปลาแฮริ่งกระป๋อง เครื่องหนัง วูล(ขนสัตว์) เป็นต้น
การเปลี่ยนพิกัด เสนอใช้วิธี เนื่องจากต้องการเปิดโอกาสให้นำเข้า วัตถุดิบจากนอกอาเซียนได้ Local Content ต้องการใช้วิธี เนื่องจากต้องการสนับสนุนให้ใช้ วัตถุดิบในอาเซียน ความคืบหน้าล่าสุดการเจรจากฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ของอาเซียน-จีน ... สำหรับสินค้าอัญมณี 2 สินค้าอัญมณีอยู่ในกลุ่มสินค้าลำดับที่ 2 (Second Package)ที่อาเซียนและจีนกำลังพิจารณาให้สามารถใช้วิธีการเปลี่ยนพิกัดได้ คาดว่าจะรู้ผลปลายปี 2548 ขณะนี้ถ้าจะส่งไปจีนต้องใช้เกณฑ์ Local Content 40%ไปก่อน
ส่วนที่ 3 ตัวอย่างข้อเท็จจริงการผลิต อัญมณีและเครื่องประดับกับกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ของอาเซียน และ ACFTA
3 ตัวอย่างสินค้าอัญมณีที่จะนำเสนอ ไพลินสำเร็จ ทับทิมสำเร็จ เครื่องประดับ.. เพชรสำเร็จ เครื่องประดับเงิน
โครงสร้างต้นทุนการผลิตพลอยเจียระไน เพชรเจียระไน และ เครื่องประดับเพชรพลอย 3 ที่มา : วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2542
ถ้าได้LC>40%เสียภาษี 5% ACFTA • ถ้าได้ LC<40%เสียภาษีWTO 8% 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ...ไพลินสำเร็จ..7103.91 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย วัตถุดิบอื่นๆ 5 ค่าแรงงาน 21 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 6 ค่าเสื่อมราคา 3 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 2 40 ก้อนไพลิน 60 (มาดากาซกา) จีน ไพลินสำเร็จ LC 40% (+/-)
ได้LC=100% เนื่องจากนำเข้าจากอาเซียน (พม่า) เป็นไปตามกฎสะสมFTA เสียภาษี 5% ACFTA • แต่ถ้านำเข้าก้อนทับทิมจากนอกอาเซียนLC<40%เสียภาษีWTO 8% 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ...ทับทิมสำเร็จ..7103.91 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย วัตถุดิบอื่นๆ 5 ค่าแรงงาน 21 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 6 ค่าเสื่อมราคา 3 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 2 40 ก้อนทับทิม60 (พม่า) ทับทิมสำเร็จ LC > 40% จีน
เสียภาษี 20% ACFTA 0% ในปี 2553 (ภาษี WTO=26%) 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ... เครื่องประดับเงิน..7113.11 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย • ได้ LC=100% • ถ้านำเข้าเงินจากจีน • ตามกฎสะสมของ FTA พลอยที่เจียแล้ว 35 วัตถุดิบอื่นๆ 5 ค่าแรงงาน 12 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 8 ค่าเสื่อมราคา 4 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 3 70 เงิน 30 (จีน/ฮ่องกง/เกาหลีใต้) • ได้ LC=70% • ถ้านำเข้าเงินจาก • ฮ่องกง / เกาหลีใต้ เครื่องประดับ LC 100%หรือ 70% จีน
LC<40%เสียภาษี WTO 35% เสนอการเปลี่ยน พิกัดระดับ 4 หลัก CTH 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ... เครื่องประดับแฟชั่น..7113.19 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย เนื้ออ่อน 7103.10 (แอฟริกา) คริสตัน 7018.10 (ออสเตรเลีย) ทอง 7108.12 (สวิตเซอร์แลนด์) ค่าแรงงาน 21 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 6 ค่าเสื่อมราคา 3 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 2 35 65 จีน เครื่องประดับ LC 35%
เกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่เหมาะสมเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่เหมาะสม สำหรับ... เครื่องประดับแฟชั่น..7113.19 3 “CTH” สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบนำเข้า เนื้ออ่อน พิกัด 7103.10 ทอง พิกัด 7108.12 เครื่องประดับแฟชั่น พิกัด 7113.19
LC<40%เสียภาษี WTO 8% เสนอการเปลี่ยน พิกัดระดับ 6 หลัก CTSH 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ... เพชรสำเร็จ..7102.39 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย วัตถุดิบอื่นๆ 2 ค่าแรงงาน 11 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 4 ค่าเสื่อมราคา 1 ค่าดอกเบี้ย 1 ต้นทุนอื่นๆ 1 20 เพชรก้อน 80 7102.31 เบลเยี่ยม อิสราเอล อินเดีย จีน เพชรสำเร็จ LC 20%
เกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่เหมาะสมเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่เหมาะสม สำหรับ...เพชรสำเร็จ...7102.39 3 “CTSH” สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบนำเข้า เพชรก้อน พิกัด 7102.31 เพชรสำเร็จ พิกัด 7102.39
เสียภาษี 20% ACFTA 0% ในปี 2555 (ภาษี WTO=35%) 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต..เครื่องประดับพลอย..7113.19...แบบที่ 1 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย วัตถุดิบอื่นๆ 5 ค่าแรงงาน 12 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 8 ค่าเสื่อมราคา 4 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 3 35 ก้อนทับทิม (พม่า) ทอง (ออสเตรเลีย) • ได้ LC > 40% • เนื่องจากนำเข้า ก้อนทับทิมจากอาเซียน (พม่า)ตามกฎสะสมของ • FTA 65 เครื่องประดับพลอย LC > 40% จีน
เสียภาษี 20% ACFTA 0% ในปี 2555 (ภาษี WTO=35%) 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต..เครื่องประดับพลอย..7113.19..แบบที่ 2 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย ได้ LC > 40% เนื่องจากนำเข้าก้อนทับทิมจากจีน เป็นไป ตามกฎสะสมของ FTA ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายโรงงาน ค่าเสื่อมราคา ค่าดอกเบี้ย ต้นทุนอื่นๆ ทับทิมสำเร็จ (จีน) ทอง (ออสเตรเลีย) เครื่องประดับพลอย LC > 40% จีน
สรุป ? ประโยชน์จากข้อตกลง FTA อยู่ที่ผลิตได้แหล่งกำเนิดสินค้าหรือไม่ ดังนั้น ผู้ผลิต SMEsอัญมณีและเครื่องประดับ ต้องผลิตสินค้าให้ผ่านเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่ตกลงกัน • ผลักดันวิธีการผลิตของไทยให้กำหนดเป็นเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้า • ใช้วัตถุดิบในประเทศหรือของประเทศที่ทำ FTAกับไทย • มุ่งเน้นส่งออกรายการสินค้าที่ไทยมีจุดแข็งด้านวัตถุดิบในประเทศเพื่อผลิตให้ได้ LCสูงๆ • ใช้กฎ CTCเมื่อผลิตไม่ได้ LCสูงๆ
Website ความคืบหน้า FTA สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย : www.thaiechamber.com คลิกที่ ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ โทร. 0-2622-1111 ต่อ 146,659และ639 www.dtn.moc.go.th www.thaifta.com www.ftamonitoring.org
ขอบคุณ และสวัสดี