430 likes | 663 Views
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548. สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร. อนุปริญญา : ผลิตบุคลากรระดับกลางในสาขาวิชาที่มี ความจำเป็น ปริญญาตรี : ผลิตนักวิชาการและนักวิชาชีพ
E N D
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร อนุปริญญา : ผลิตบุคลากรระดับกลางในสาขาวิชาที่มี ความจำเป็น ปริญญาตรี : ผลิตนักวิชาการและนักวิชาชีพ ปริญญาโท/ : ผลิตนักวิชาการและ เอก นักวิชาชีพชั้นสูง ป.บัณฑิต/ : ผลิตนักวิชาการและ บัณฑิตชั้นสูง นักวิชาชีพเฉพาะทาง
ระบบการศึกษา • ทวิภาค 2 ภาคปกติ • (15 สัปดาห์/ภาค) • 2. ไตรภาค 3 ภาคปกติ • (12 สัปดาห์/ภาค) • 3. จตุรภาค 4 ภาคปกติ • (10 สัปดาห์/ภาค)
การคิดหน่วยกิต ทฤษฎี : 15 ชม./ภาค = 1 หน่วยกิต ปฏิบัติ : 30 ชม./ภาค = 1 หน่วยกิต ฝึกงาน/ฝึกภาคสนาม/การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์ : 45 ชม./ภาค = 1 หน่วยกิต
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา (1) 1. อนุปริญญา/ปริญญาตรี : สำเร็จมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่า 2. ปริญญาตรี(ต่อเนื่อง) : สำเร็จ ปวส. หรือ เทียบเท่า หรือ อนุปริญญา(3 ปี)ที่ตรง หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา ที่เปิดสอน
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา (2) 3. ป.บัณฑิต : สำเร็จปริญญาตรี ป.บัณฑิตชั้นสูง : สำเร็จปริญญาโท 4. ปริญญาโท : สำเร็จปริญญาตรี 5. ปริญญาเอก : สำเร็จปริญญาตรี / โท
โครงสร้างหลักสูตร(อนุปริญญาและปริญญาตรี)โครงสร้างหลักสูตร(อนุปริญญาและปริญญาตรี) • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป • หมวดวิชาเฉพาะ • หมวดวิชาเลือกเสรี
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป • สังคมศาสตร์ • มนุษยศาสตร์ • ภาษา • วิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์
หมวดวิชาเฉพาะ • วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน • วิชาพื้นฐานวิชาชีพ วิชาชีพ • วิชาเอก วิชาโท
หมวดวิชาเลือกเสรี เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในระดับปริญญาตรีตามที่สถาบันอุดมศึกษากำหนด
โครงสร้างหลักสูตรปริญญาตรีโครงสร้างหลักสูตรปริญญาตรี
การจัดโครงสร้างปริญญาตรี (1) 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต) สังคม มนุษย์ ภาษา วิทย์/คณิต บังคับ ลักษณะบูรณาการ หรือรายวิชา บังคับ + เลือก เลือก
การจัดโครงสร้างปริญญาตรี (2) 2. หมวดวิชาเฉพาะ (84 หน่วยกิต) วิชาแกน วิชาเอก 3. วิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต) บังคับ บังคับ + เลือก บังคับ บังคับเลือก บังคับ + เลือก
โครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต
โครงสร้างหลักสูตรปริญญาโท (1) แผน ก เน้นการวิจัย • แบบ ก 1 ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์ • แบบ ก 2 งานรายวิชา + วิทยานิพนธ์ แผน ข เน้นการศึกษางานรายวิชา • งานรายวิชา + การค้นคว้าอิสระ
การจัดโครงสร้างปริญญาโท (1) แผน ก แบบ ก1 วิชาสัมมนา (ไม่นับหน่วยกิต) วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
การจัดโครงสร้างปริญญาโท (2) แผน ก แบบ ก2 งานรายวิชา 12 หน่วยกิต วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
การจัดโครงสร้างปริญญาโท (3) แผน ข ศึกษางานรายวิชาโดยไม่ทำวิทยานิพนธ์ แต่มีการค้นคว้าอิสระ 3 - 6 หน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตรปริญญาเอกโครงสร้างหลักสูตรปริญญาเอก แบบ 1 ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์ แบบ 2 งานรายวิชา + วิทยานิพนธ์
โครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาเอกโครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาเอก
จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์ อนุปริญญา จำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน ปริญญาโทหรือผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 คน ปริญญาตรี จำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน ปริญญาโทหรือผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2 คน อาจารย์ประจำเกินกว่า 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้
(ปริญญาโท) จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์ อาจารย์จำนวนอย่างน้อย 5 คน 1. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร: อาจารย์ประจำหลักสูตร - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ (3 คน) 2. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 2.1 ที่ปรึกษาหลัก : อาจารย์ประจำ - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - มีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 2.2 ที่ปรึกษาร่วม : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน - มีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง
จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาโท)จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาโท) 3. ผู้สอบวิทยานิพนธ์ : อาจารย์ประจำ + ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - มีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 4. ผู้สอน : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาโท/ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - มีประสบการณ์ในการสอนและการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง
จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาเอก)จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาเอก) อาจารย์จำนวนอย่างน้อย 5 คน 1. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร: อาจารย์ประจำหลักสูตร - ปริญญาเอก/ศาสตราจารย์ (3 คน) 2. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 2.1 ที่ปรึกษาหลัก : อาจารย์ประจำ - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - ต้องมีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 2.2 ที่ปรึกษาร่วม : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - ต้องมีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง
จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาเอก)จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาเอก) 3. ผู้สอบวิทยานิพนธ์ : อาจารย์ประจำ + ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - ต้องมีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 4. ผู้สอน : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - มีประสบการณ์ด้านการสอนและการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง
จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ป.บัณฑิตและป.บัณฑิตชั้นสูง)จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ป.บัณฑิตและป.บัณฑิตชั้นสูง) อาจารย์ประจำจำนวนอย่างน้อย 5 คน 1. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร : อาจารย์ประจำหลักสูตร - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ 3 คน - ต้องมีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้สอน : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาโท/ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - ต้องมีประสบการณ์ในการสอนและการทำวิจัย อย่างต่อเนื่อง
ภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษา : นักศึกษา (โท + เอก) 1 คน : 5 คน หากมีศักยภาพดูแลนักศึกษาได้มากกว่า 5 คน แต่ต้องไม่เกิน 10 คน การค้นคว้าอิสระ(หลักสูตรปริญญาโท) อาจารย์ที่ปรึกษา : นักศึกษา 1 คน : 15 คน
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา (1)(อนุปริญญา/ปริญญาตรี) • ศึกษาครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนด • ได้แต้มระดับเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.00 จากระบบ 4 แต้มคะแนน
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา (2) (ปริญญาโท) แผน ก 1 - เสนอวิทยานิพนธ์ + สอบปากเปล่า - ผลงานได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ แผน ก 2 - ศึกษารายวิชาครบถ้วน - เสนอวิทยานิพนธ์ + สอบปากเปล่า - ผลงานได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ แผน ข - ศึกษารายวิชาครบถ้วน - สอบประมวลความรู้ข้อเขียนและ/หรือปากเปล่า
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา (3) (ปริญญาเอก) • สอบผ่านภาษาต่างประเทศ • สอบผ่านการวัดคุณสมบัติ • เสนอวิทยานิพนธ์ + สอบปากเปล่า • ผลงานได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ • ศึกษารายวิชาครบถ้วน (เฉพาะแบบ 2)
ชื่อปริญญา • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาฯ • หลักเกณฑ์การกำหนดชื่อปริญญาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ชื่อปริญญา 1. ปริญญาเชิงวิชาการ • ศิลปศาสตร์ • วิทยาศาสตร์ 2. ปริญญาเชิงวิชาชีพ 3. ปริญญาเทคโนโลยี
การประกันคุณภาพของหลักสูตรการประกันคุณภาพของหลักสูตร • การบริหารหลักสูตร • ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน • การสนับสนุนและการให้คำแนะนำการศึกษา • ความต้องการกำลังคนหรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
การพัฒนาหลักสูตร มีการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยแสดงการปรับปรุงดัชนีด้านมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาเป็นระยะ ๆ อย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี และมีการประเมินทุก ๆ 5 ปี
อุตสาหกรรมหลักที่เป็นเป้าหมายการพัฒนาอุตสาหกรรมหลักที่เป็นเป้าหมายการพัฒนา • อุตสาหกรรมอาหาร • อุตสาหกรรมสิ่งทอและแฟชั่น • อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ • อุตสาหกรรมยานยนต์ • อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว