240 likes | 503 Views
สวัสดิการผู้สูงอายุ โดย มัทนา พนานิรามัย 26 พฤศจิกายน 2550 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หัวข้อ. ผลกระทบของการสูงอายุของประชากรต่อเศรษฐกิจ การเตรียมตัวของสังคมเพื่อรองรับภาระที่เกิดจากการสูงอายุของประชากร. ผลกระทบของเปลี่ยนแปลงทางประชากรต่อเศรษฐกิจ.
E N D
สวัสดิการผู้สูงอายุ โดย มัทนา พนานิรามัย 26 พฤศจิกายน 2550 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หัวข้อ • ผลกระทบของการสูงอายุของประชากรต่อเศรษฐกิจ • การเตรียมตัวของสังคมเพื่อรองรับภาระที่เกิดจากการสูงอายุของประชากร
ผลกระทบของเปลี่ยนแปลงทางประชากรต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเปลี่ยนแปลงทางประชากรต่อเศรษฐกิจ ผลกระทบแตกต่างกันขึ้นอยู่กับอยู่ที่ขั้นตอนใดใน Demographic transition ผล 3 ขั้นตอนคือ • ขั้นตอนที่ 1: ภาระของวัยเด็ก • ขั้นตอนที่ 2: หน้าต่างแห่งโอกาสและการปันผลทางประชากร (window of opportunity or population dividend) • ขั้นตอนที่ 3: ภาระของผู้สูงอายุ เรากำลังอยู่ในขั้นตอนที่ 2 และ กำลังก้าวเข้าสู่ขั้นตอนที่ 3 อย่างรวดเร็ว
Population Dividend มี 2 ระลอกในการเก็บเกี่ยวประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร • First population dividend • เกิดเมื่อสัดส่วนของประชากรวัยทำงานเพิ่มขึ้น • เกิดโดยอัตโนมัติและเกิดเพียงช่วงเวลาหนึ่งและหมดไป • Second population dividend • เกิดจากเมื่อสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มและทำให้เกิดความจำเป็นในการออมเพิ่มขึ้น • ไม่ได้เกิดโดยอัตโนมัติ • แต่ถ้าเกิดแล้วอาจมีผลดีต่อเนื่องเป็นเวลานานได้
The second population dividend และวิธีการสร้างหลักประกันทางเศรษฐกิจเพื่อผู้สูงอายุ • การใช้ระบบ pay as you go • การใช้ระบบ fully funded ด้วยการส่งเสริมการออม
ผลต่อสวัสดิการของผู้สูงอายุผลต่อสวัสดิการของผู้สูงอายุ • สวัสดิการของผู้สูงอายุขึ้นอยู่กับ • สุขภาพ • ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ • ที่อยู่อาศัย • การได้รับการยอมรับ • ฯลฯ
สุขภาพ • ประกันสุขภาพช่วยแก้ไขวิกฤติการณ์ด้านการเงินอันเนื่องมาจากสุขภาพได้ระดับหนึ่ง • แต่ยังไม่แก้ไขเรื่อง การเข้าถึงของผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแลและเรื่อง long term care • ภาระเหล่านี้จะจัดสรรกันอย่างไร ระหว่างรัฐและตลาด
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การประมาณรายได้จากแรงงานและ การบริโภคตามอายุ (บัญชีการโอนประชาชาติ หรือ National Transfer Flow Accounts)
บัญชีกระแสการโอนประชาชาติบัญชีกระแสการโอนประชาชาติ Table 1.1 National Transfer Flow Accounts, Per Capita, 2004 (Baht per year) Average 0-24 25-59 60+ Lifecycle deficit 7,987 40,921 -27,436 43,087 Consumption 58,324 51,457 62,506 66,210 Private 47,011 35,458 54,782 56,802 Public 11,312 15,999 7,724 9,407 Less: Labor Income 50,337 10,536 89,942 23,122 Wage and Salary 30,277 9,294 53,399 5,280 Entrepreneurial Income 20,060 1,242 36,543 17,842 Age Reallocations 7,987 40,921 -27,436 43,087 Asset-based Reallocations 6,636 3,901 3,640 31,916 Income on Assets 24,717 1,033 41,931 38,691 Less: Saving -18,081 2,868 -38,291 -6,774 Transfers 1,350 37,020 -31,076 11,171 Public 54 11,204 -9,086 -1,603 Private 1,296 25,816 -21,989 12,774 Inter-household Transfers 1,296 512 508 8,206 Intra-household Transfers -0 25,304 -22,497 4,568
บัญชีกระแสการโอนประชาชาติบัญชีกระแสการโอนประชาชาติ ตารางที่ 1.2 บัญชีกระแสการโอนแห่งชาติรวม ปี 2547 Table 1.2 National Transfer Flow Accounts, Aggregate, 2004 (Billion Baht per year) Total 0-24 25-59 60+ Lifecycle deficit 509 1,076 -848 280 Consumption 3,715 1,353 1,931 431 Private 2,994 932 1,692 370 Public 721 421 239 61 Less: Labor Income 3,206 277 2,779 150 Wage and Salary 1,928 244 1,650 34 Entrepreneurial Income 1,278 33 1,129 116 Age Reallocations 509 1,076 -848 280 Asset-based Reallocations 423 103 112 208 Income on Assets 1,574 27 1,295 252 Less: Saving -1,152 75 -1,183 -44 Transfers 86 973 -960 73 Public 3 295 -281 -10 Private 83 679 -679 83 Inter-household Transfers 83 13 16 53 Intra-household Transfers -0 665 -695 30
วิธีการปิดงบขาดดุลรายได้วิธีการปิดงบขาดดุลรายได้ • เงินโอนภาคเอกชน (private transfer) • เงินโอนจากรัฐ (public transfer) • การจัดการด้านสินทรัพย์ (asset-based re-allocation) หมายถึงรายได้จากสินทรัพย์หักด้วยการออม การโอนข้ามบุคคล การโอนข้ามเวลา
NTA Thailand 2004 • Per capita lifecycle deficit
การขาดดุลรายได้ระดับบุคคลการขาดดุลรายได้ระดับบุคคล %(surplus/deficits): 1981 = 59.1%, 2004 = 34.3%
การขาดดุลรายได้รวม %(surplus/deficits): 1981 = 51.9%, 2004 = 62.5%
สรุป • ช่วงเวลาที่คนไทยเกินดุลรายได้ดูสั้นลง • สัดส่วนของการบริโภคในเด็ก วัยรุ่นและผู้สูงอายุที่ได้แหล่งเงินมาจากรายได้จากแรงงานลดลง เพราะวัยรุ่นเรียนนานขึ้นและผู้สูงอายุก็เกษียณตนเองเร็วขึ้นเช่นกัน • ทั้งวัยเด็กและวัยสูงอายุมีการขาดดุลรายได้มากขึ้น ไม่ใช่เพราะการเข้าทำงานช้าและออกจากงานเร็วขึ้นเท่านั้น แต่เพราะรายจ่ายต่อคนที่เพิ่มขึ้นทั้งในวัยเด็ก (ค่าศึกษาเล่าเรียน) และวัยสูงอายุ (ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ)
สรุป • แต่ส่วนเกินดุลรายได้ของวัยกลางคนมิได้เพิ่มขึ้นรวดเร็วเท่า • ดังนั้น ถ้ามองการขาดดุลตามอายุเสมือนเป็นการขาดดุลรายได้ตลอดชีวิตของคนหนึ่ง ส่วนเกินดุลรายได้จะสามารถไปปิดส่วนขาดดุลรายได้ได้น้อยลง • อย่างไรก็ตาม ด้วยโครงสร้างทางอายุของประชากรที่มีสัดส่วนของคนวัยทำงานเพิ่มขึ้น ทำให้ส่วนเกินดุลทั้งสังคมสามารถปิดงบส่วนขาดดุลได้มากขึ้น • แต่โอกาสดีเช่นนี้จะเป็นอยู่เพียงชั่วคราว
สรุป • วิธีการปิดงบขาดดุลรายได้วัยเด็ก • ส่วนใหญ่ที่สุดปิดจากเงินโอนภาคเอกชน แต่เงินโอนภาครัฐมีมากขึ้นในปี 2004 มากกว่าปี 1981 • วิธีการปิดงบในวัยเด็กใกล้เคียงกับประเทศอื่นๆ • วิธีการปิดงบขาดดุลรายได้ในวัยสูงอายุ • การจัดการด้านสินทรัพย์มีบทบาทอันดับหนึ่ง ตามด้วยการโอนภาคเอกชนและการโอนภาครัฐมีบทบาทน้อยที่สุด • เมื่ออายุมากขึ้น บทบาทของการพึ่งเงินโอนจากครอบครัวจะเพิ่มขึ้น
สรุป • วิธีการปิดงบขาดดุลรายได้ในวัยสูงอายุ (ต่อ) • นอกจากนี้ ในปี 2004 บทบาทของการจัดการด้านสินทรัพย์ในการปิดงบขาดดุลรายได้ของผู้สูงอายุจะน้อยกว่าในปี 1981 • ทำนองเดียวกัน ผู้สูงอายุในปี 2004 พึ่งเงินโอนจากครอบครัวมากกว่าในปี 1981 • แม้บทบาทการโอนจากรัฐมีน้อยในอดีต แต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับหลายประเทศ ต้องถือว่ารัฐมีโครงการเพื่อผู้สูงอายุค่อนข้างต่ำ
หลักประกันด้านรายได้ที่พึงปรารถนา • ต้องมีประสิทธิผลในการป้องกันผู้สูงอายุจากความยากจนได้ภายใต้สถานการณ์ต่างๆ • ต้องไม่มีผลกระทบด้านลบต่อเศรษฐกิจ
หลักประกัน 3 ชั้นของธนาคารโลก • ชั้นที่ 1 • เป้าหมาย: ให้การคุ้มครองขั้นต่ำ • เน้นที่ Redistribution • ใช้แบบกำหนดประโยชน์ทดแทนและไม่ต้องมีการออมไว้ล่วงหน้า (Pay-as-you-go) • ชั้นที่ 2 • เป้าหมาย เพื่อรักษาความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุให้ใกล้เคียงกับช่วงเวลาทำงาน • ใช้แบบกำหนดเงินสมทบ (Defined contribution) และมีการออมไว้ล่วงหน้า(Fully Funded) • เป็นแบบบังคับ • ชั้นที่ 3 • เหมือนชั้นที่ 2 แต่เป็นแบบสมัครใจ
สรุปการสร้างหลักประกันทางเศรษฐกิจเพื่อผู้สูงอายุในประเทศไทยสรุปการสร้างหลักประกันทางเศรษฐกิจเพื่อผู้สูงอายุในประเทศไทย • เพิ่มช่วงเวลาทำงานเพื่อลดระยะเวลาที่เกิดการขาดดุลรายได้ • รีบเร่งส่งเสริมการออมเพื่อชราภาพในประเทศเพื่อ • ส่งเสริมการลงทุนและเพิ่มผลิตภาพแรงงานในที่สุด • สร้างวินัยการบริโภคและปรัชญาการพึ่งพาตนเอง
สรุปการสร้างหลักประกันทางเศรษฐกิจเพื่อผู้สูงอายุในประเทศไทยสรุปการสร้างหลักประกันทางเศรษฐกิจเพื่อผู้สูงอายุในประเทศไทย • การปิดงบขาดดุลรายได้ในวัยสูงอายุด้วยวิธีการโอน (จากรัฐหรือจากเอกชนก็ดี) ไม่ได้ช่วยเพิ่มผลิตภาพแรงงานและจะสร้างปัญหาในอนาคตได้เมื่อสัดส่วนของคนทำงานต่อคนรับบำนาญลดลง
แนวคิดเบื้องต้นในการสร้างหลักประกันชราภาพอย่างครอบคลุม(Universal coverage of old age security • กองทุนบำนาญชราภาพ • รับเงินสมทบจากผู้มีอายุตั้งแต่ x ขึ้นไป เป็นลักษณะ defined benefits ประเภท fully or partially funded • บังคับ (หรือสมัครใจ) • กองทุนรับและจ่ายผ่านนิติบุคคลระดับท้องถิ่น เช่น อบต. หรือกลุ่มอาชีพที่มีการจดทะเบียน • นิติบุคคลระดับท้องถิ่นมีหน้าที่จัดสวัสดิการขั้นต่ำตามที่รัฐบาลกลางกำหนด • รัฐบาลกลางให้เงินอุดหนุนบางส่วนเมื่อกระทำได้ครบตามเงื่อนไข • ข้าราชการ (ส่วนกลางและท้องถิ่น • ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ • ลูกจ้างเอกชน • มีหลักประกันอย่างน้อย 1 ชั้น • ผู้ไม่อยู่ในครอบคลุม • ผู้ทำงานนอกระบบ • ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน