830 likes | 1.11k Views
การประชุม คณะกรรมการบริหาร โครงการสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553. ครั้งที่ 1/2552 วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม 2552. วาระที่ 1. เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ. 1.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร โครงการสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553. สำมะโนประชากรและเคหะ คือ. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
E N D
การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 ครั้งที่ 1/2552วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม 2552
วาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร โครงการสำมะโนประชากรและเคหะพ.ศ. 2553
สำมะโนประชากรและเคหะ คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ -ประชากรทุกคนในประเทศตามที่อยู่จริง -ที่อยู่อาศัยจริงของประชากรนั้น เพื่อนำมาเสนอผลในภาพรวม (หมู่บ้านตำบล/เทศบาลอำเภอจังหวัดประเทศ) สนองความต้องการของผู้ใช้ข้อมูลทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
ความถี่ในการจัดทำ ประเทศไทย จัดทำทุก 10 ปี ตามข้อเสนอแนะขององค์การสหประชาชาติ ( ใน ปี ค.ศ. ที่ลงท้ายด้วย“0”) เช่น ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) ค.ศ. 2010 (พ.ศ. 2553)
สร้างเครือข่าย • กรุงเทพมหานคร
จับมือกระทรวงมหาดไทย ถึงผู้ว่าราชการจังหวัด (1 กรกฎาคม 2552) Count down…..365 วัน จัดทำสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553
~ การจัดทำโครงการ • แผนการปฏิบัติงานทั้งโครงการ 4 ปี (2550-2554) • งบประมาณทั้งโครงการ 978.87 ล้านบาท ใช้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานสนาม 72,000 คน
1.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร องค์ประกอบ จำนวน 30 คน ประธานฯ ผู้อำนวยการสำนักงานสถิติแห่งชาติรองประธานฯ รองผู้อำนวยการสำนักงานสถิติแห่งชาติกรรมการ ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนสำนักงานสถิติแห่งชาติเลขานุการ ผู้อำนวยการสำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2
1.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร หน้าที่ 1. พิจารณาให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับแผนการดำเนินงาน โครงการสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 2. ให้คำปรึกษา แนะนำ และกำกับการดำเนินงาน ตามโครงการให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด 3. มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการต่าง ๆ ได้ ตามความจำเป็น 4. พิจารณาข้อเสนอของคณะอนุกรรมการต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานโครงการ
วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ 2.1 แผนการจัดทำโครงการ สำมะโนประชากรและเคหะพ.ศ. 2553
กระทรวงมหาดไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ จัดทำ จัดทำ ครั้งที่ 1-5 ครั้งที่ 6-10,11 (ปี 2503 2543,2553) (ปี 24522490) 1. ความเป็นมา ปี 2513 เพิ่ม “เคหะ” เรียก ‘สำมะโนครัว’
2. วัตถุประสงค์ เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ -ประชากรทุกคนในประเทศตามที่อยู่จริง -ที่อยู่อาศัยจริงของประชากรนั้น เพื่อนำมาเสนอผลในภาพรวม (หมู่บ้านตำบล/เทศบาลอำเภอจังหวัดประเทศ)
บ้าน/ครัวเรือน/ประชากรบ้าน/ครัวเรือน/ประชากร 3. วันสำมะโน วันที่ 1 กรกฎาคม 2553 (กำหนดขึ้นเพื่อใช้อ้างอิงข้อมูล)
สำมะโนประชากรและเคหะ เป็นเสมือนการฉายภาพนิ่ง ณ วันสำมะโน (1 ก.ค. 2553) เพื่อแสดงภาพของ ประชากรตามที่อยู่จริงทุกคน ที่อยู่อาศัยทุกประเภททั่วประเทศ
แสดงภาพของประชากร ณ วันสำมะโนในพื้นที่นั้น(หมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอ,..) มีประชากรที่อยู่จริงเท่าใด โครงสร้างเป็นอย่างไร - เป็นชาย/หญิง - เป็นเด็ก/คนทำงาน/คนแก่/คนพิการ - มีการศึกษาระดับไหน/มีผู้รู้หนังสือมากน้อยแค่ไหน - คนในวัยทำงาน มีงานทำหรือไม่ อย่างไร - มีการย้ายถิ่นมากน้อยแค่ไหน - มีประชากรแฝงเท่าใด ฯลฯ
แสดงภาพของที่อยู่อาศัยแสดงภาพของที่อยู่อาศัย ณ วันสำมะโนในพื้นที่นั้น(หมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอ,..) มีที่อยู่อาศัยเท่าใด ลักษณะอย่างไร - ประชากรมีสถานที่อยู่เป็นแบบไหน (บ้านเดี่ยว คอนโดมิเนียม ใต้สะพาน ฯลฯ) - ถูกสุขลักษณะหรือไม่ (น้ำดื่ม/น้ำใช้ การใช้ส้วม ฯลฯ)
4. ประโยชน์ การใช้ประโยชน์ข้อมูล • เพื่อให้รัฐใช้กำหนดนโยบาย/ วางแผน • ด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคม ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตามความต้องการ/ จำเป็นของท้องถิ่น (เทศบาล หมู่บ้าน อบต. ........)
การใช้ประโยชน์ข้อมูล โครงสร้างของประชากรตามที่อยู่จริง ใช้เป็นฐานในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์จังหวัด เช่น • ในพื้นที่ที่มีประชากรอยู่จริงมาก - จำเป็นต้องมีสาธารณูปโภคให้เพียงพอ และถูกสุขลักษณะ (ที่อยู่อาศัย น้ำ/ไฟ การบริการสาธารณสุข รถประจำทาง ที่ทิ้งขยะ ฯลฯ)
การใช้ประโยชน์ข้อมูล • ในพื้นที่ที่มีเด็ก คนชรา คนพิการ • ต้องมีโรงเรียน/ ครู ที่เพียงพอและเหมาะสม • ต้องมีวัคซีนสำหรับเด็กแต่ละวัยให้เพียงพอ • ต้องจัดสวัสดิการให้เพียงพอกับคนด้อยโอกาส (คนชรา คนพิการ)
การใช้ประโยชน์ข้อมูล • ในพื้นที่ที่มีแรงงานต่างด้าวอยู่หนาแน่น/ แออัด • จำเป็นต้องมีการบริหารจัดการด้านแรงงาน ให้เหมาะสม • จำเป็นต้องจัดบริการสาธารณสุขให้เพียงพอ เพื่อป้องกันโรคระบาด/ โรคติดต่อ บางประเภทที่หายไปแล้วในประเทศไทย แต่กลับมาใหม่กับแรงงานต่างด้าว
การใช้ประโยชน์ข้อมูล • ในการจัดทำ GPP • จำเป็นต้องใช้จำนวนประชากรที่ถูกต้อง ครบถ้วน ในระดับพื้นที่ • ใช้คำนวณตัวชี้วัดที่แสดงผลสัมฤทธิ์ ในการบริหารจัดการในจังหวัดได้อย่างถูกต้อง • โดยใช้จำนวนประชากรจริง เป็นตัวหาร เช่น รายได้เฉลี่ยต่อหัว อัตราการมารับบริการด้านต่างๆ • ทำให้ทราบจำนวนประชากรแฝงที่เข้ามาอาศัย และใช้สาธารณูปโภคในพื้นที่
ประชากร การใช้ประโยชน์ข้อมูล 2.ภาคเอกชนสามารถใช้ข้อมูลความหนาแน่น ของประชากรในพื้นที่ต่างๆ (ตามเพศ อายุ อาชีพ....) ประกอบการตัดสินใจในการทำธุรกิจ ตั้งร้านค้า หรือขยายกิจการ 3. ใช้เป็นฐานในการคาดประมาณประชากรในอนาคต (Population Projection)
การใช้ประโยชน์ข้อมูล 4.ใช้ในการประเมินผลแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (2550-2554) และเตรียมแผนพัฒนาฯฉบับที่ 11(2555-2559) 5. ใช้เป็นกรอบในการเลือกตัวอย่างสำหรับการสำรวจ ในรายละเอียดเฉพาะเรื่องด้านประชากร/สังคม
หน่วยงานหลักที่นำข้อมูลไปใช้หน่วยงานหลักที่นำข้อมูลไปใช้ 1. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 7. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2. กระทรวงมหาดไทย 8. บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด 3. กระทรวงสาธารณสุข 9. องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น/กทม. 4. กระทรวงศึกษาธิการ 10. สถาบันการศึกษา/วิจัย/นักวิชาการ 5. กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ 11. องค์การระหว่างประเทศ 6. กระทรวงแรงงาน 12. ภาคเอกชน 5. ผู้ใช้ข้อมูล
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน • จำนวนประชากรที่แท้จริง • ในแต่ละพื้นที่ • และรายละเอียดต่าง ๆ • ที่ไม่มีในทะเบียนราษฎร์ • เพื่อจัดหาสาธารณูปโภค • ให้เพียงพอ สำมะโนประชากรและเคหะ 2553 • ใครได้อะไรบ้าง • จำนวนผู้ไม่รู้หนังสือ • ระดับการศึกษาของคนไทย • เพื่อจัดบริการทาง การศึกษาให้ทั่วถึงและเป็นธรรม • จำนวนผู้ว่างงาน • แรงงานต่างชาติ • มากำหนดนโยบาย • การจัดหางาน • พัฒนาอาชีพ • เพื่อป้องกัน • การย้ายถิ่น • /แรงงานผิด กม. 26
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวง สาธารณสุข กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ สำมะโนประชากรและเคหะ 2553 • จำนวนผู้ด้อยโอกาส/คนพิการ • ที่อยู่อาศัย • ใช้จัดสวัสดิการ • เพื่อสงเคราะห์ • ผู้ด้อยโอกาส • ให้เหมาะสม • จำนวนประชากรในพื้นที่ใช้จัดบริการทางสาธารณสุขให้สอดคล้อง • กับประชาชนทุกกลุ่มวัย เช่น การจัดเตรียม • วัคซีนให้เพียงพอ • ในพื้นที่ที่มีเด็กมาก • การจัดเตรียม • บัตรประกันสุขภาพ • ให้ครบ/เหมาะสม • จำนวนเกษตรกร • ชาวประมง/เพาะเลี้ยง • ใช้ส่งเสริมด้านการเกษตร/ประมง • ให้เหมาะสมกับพื้นที่ • เช่น การส่งเสริมการ • ปลูกพืช/เลี้ยงสัตว์น้ำแต่ละประเภท 27
สภาพัฒน์ฯ (สนง.คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) สำมะโนประชากรและเคหะ 2553 บริษัทไปรษณีย์ไทย • จำนวนประชากร • ใช้วางแผนบริการ • ด้านไปรษณีย์ให้ • ครอบคลุม • และทั่วถึงมากขึ้น • จำนวนประชากร/ผู้ย้ายถิ่น • ใช้เป็นฐานในการคาดประมาณจำนวนประชากรของประเทศไทย • ในแต่ละปี • และใช้ในการวางแผน ติดตาม ประเมินผล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(แผน 10 ,11) 28
องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น/กทม.องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น/กทม. สถาบันการศึกษา/นักวิจัย • จำนวนประชากร • จำแนกตามลักษณะต่างๆ • ใช้ในการวิเคราะห์ดูแนวโน้ม และหาค่าตัวชี้วัดที่สำคัญ ด้านประชากร • จำนวนประชากร • ในระดับท้องถิ่น • ใช้ในการจัดเตรียม • สาธารณูปโภคให้เหมาะสม สำมะโนประชากรและเคหะ 2553 29
6. ประชากรที่อยู่ในคุ้มรวม • คนไทยทุกคนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย • ในวันสำมะโน(1 ก.ค. 2553) 2. คนที่มีสถานที่อยู่ปกติในประเทศไทย แต่ในวันสำมะโนได้ไปต่างประเทศชั่วคราว (ไม่ได้ตั้งใจจะตั้งหลักแหล่ง)
6. ประชากรที่อยู่ในคุ้มรวม 3. ข้าราชการฝ่ายทหาร/ พลเรือน รวมทั้งคณะทูตของประเทศไทย พร้อมทั้งครอบครัว ซึ่งมี สำนักงานอยู่ต่างประเทศ 4. คนต่างชาติ/ ต่างด้าว ที่เข้ามาอยู่ ในประเทศไทยตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป นับถึงวันสำมะโน
ไม่รวมใคร เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน ทหารและ ทูตต่างประเทศ/องค์กรระหว่างประเทศ พร้อมทั้งครอบครัว ซึ่งมีสำนักงานอยู่ในประเทศไทย คนต่างชาติ/ต่างด้าว ผู้ซึ่งเข้ามาอยู่ในประเทศไทย ไม่ถึง 3 เดือน นับถึงวันสำมะโน ผู้อพยพหรือผู้หลบหนีเข้าเมือง ซึ่งอยู่ในค่ายอพยพ ที่รัฐบาลกำหนดขึ้น
ประชากรแต่ละคนในประเทศไทยประชากรแต่ละคนในประเทศไทย จะต้องถูกนับ (นับจด/แจงนับ) เพียงครั้งเดียว เท่านั้น ไม่มีการนับซ้ำ ในกรณี ที่ผู้ใดมีที่อยู่อาศัยหลายแห่ง ให้นับไว้ในที่อยู่อาศัยที่อยู่มากกว่า เช่น วันจันทร์-ศุกร์ ไปทำงานและอาศัยอยู่ที่ จ.อยุธยา วันเสาร์-อาทิตย์ กลับบ้านที่ กทม. • ในกรณีนี้ ให้นับไว้ที่บ้านที่ จ.อยุธยา การนับสมาชิกในครัวเรือน
สถานที่ ที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของประชากร ทุกแห่งทั่วประเทศ ( บ้าน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง ที่สาธารณะ ห้องภายในสำนักงาน ใต้สะพาน ฯลฯ ) บ้านเรือนแพ คุ้มรวมเคหะ
7. แบบสอบถาม แบบสอบถามมี 2 แบบ คือ 1) แบบนับจด (สปค.1) 2) แบบแจงนับ (สปค.2)
แบบที่ใช้ในการนับและจดแบบที่ใช้ในการนับและจด บ้าน/อาคารและสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด แบบนับจด(สปค.1) คือ (เพื่อหาบ้านฯที่มีคนอยู่อาศัย ครัวเรือน และประชากร)
แบบแจงนับ (สปค.2) คือ แบบที่ใช้ในการแจกแจงรายละเอียด ของประชากร (สมาชิกในครัวเรือน) แต่ละคน และที่อยู่อาศัย เป็นรายครัวเรือน
จำนวนประชากร • จำนวนประชากร ตามทะเบียนบ้าน(ตามกฎหมาย) ตามที่อยู่จริง • จำแนกตาม • จำแนกตาม เพศ อายุ และสัญชาติ เพศ อายุและสัญชาติ ศาสนา การศึกษา ภาษาพูด อาชีพ ความพิการ สถานภาพสมรส จำนวนบุตรเกิดรอด การย้ายถิ่น ประชากรต่างชาติ ประเภทที่อยู่อาศัย ทรัพย์สิน ประชากรแฝง - พักอาศัยในพื้นที่(ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน) - มาทำงาน/เรียนหนังสือ(กลางวัน) 8. ข้อมูลที่เก็บรวบรวม ทะเบียนราษฎร สำมะโนประชากรและเคหะ 38
9.วิธีการเก็บข้อมูล(MultiModal Method) ต้องนับคนให้ได้ครบมากที่สุด ไปสัมภาษณ์ที่บ้าน ตอบทางโทรศัพท์ ตอบทาง internet ให้กรอกเองแล้วส่งทางไปรษณีย์/หรือให้ไปรับ
วิธีการเก็บข้อมูล 2. ทอดแบบ(กรอกแบบด้วยตนเอง) 1. สัมภาษณ์ 3. ทาง Internet 4. โทรศัพท์ (TIC) ให้ User name ไม่มี User name นัดส่งข้อมูล/โทรศัพท์ สอบถาม ข้อมูล สัมภาษณ์ ทางโทรศัพท์ ขอให้ส่งคน/ส่งแบบ/ บันทึกวันนัดส่งข้อมูล/โทรศัพท์ ขอ User name ระบบติดตามผล บันทึกข้อมูล แจ้ง สถจ./สบจ. ดำเนินการ ได้รับข้อมูล ฐานข้อมูลดิบ ฐานข้อมูลดิบ ฐานข้อมูลดิบ ฐานข้อมูลดิบ ICR
ในพื้นที่พิเศษ ใช้ผู้ดูแล/กรรมการหมู่บ้าน (คอนโดฯ,หอพัก,ตึกสูง,หมู่บ้านจัดสรร,เรือนจำ,กรมทหารฯลฯ) จำนวน 72,000 คน ~ 10. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสนาม ปฏิบัติงานพร้อมกันทั่วประเทศ 1-31 ก.ค. 53 ในพื้นที่ปกติ ใช้คนในพื้นที่ (อสม., เจ้าหน้าที่ชุมชน, อบต, จนท.เทศบาล,สาธารณสุข,ครู ฯลฯ ลูกจ้างชั่วคราว...)
แผนการอบรมเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานสนามแผนการอบรมเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานสนาม สถิติจังหวัด และ ผอ. สบจ. จนท.ผู้อบรม (สถจ./ สบจ.) จนท.ผู้อบรม (ส่วนกลาง) เจ้าหน้าที่ควบคุม ระบบติดตามการเก็บข้อมูล (Internet/TIC/การทอดแบบ) (สถจ./ สบจ.) จนท.ประสานงานอำเภอ/เขต 1. จนท.ประจำจังหวัด/สบจ. 2. ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ผู้อบรม เจ้าหน้าที่วิชาการ (เจ้าหน้าที่ควบคุมงานสนาม) (8,900 คน) (ศูนย์กลุ่มอำเภอ 300 ศูนย์) (2,650 คน) พนักงานแจงนับ (เจ้าหน้าที่เก็บข้อมูล) (62,300 คน) (ศูนย์จังหวัด 76 ศูนย์) (ศูนย์กลุ่มตำบล 2,500 ศูนย์) เจ้าหน้าที่โครงการ (6 คน) (300 คน) (76 คน) (150 คน) (76 คน)
11. ระยะเวลาในการดำเนินงาน 1. 2550-53 ; วางแผนและเตรียมงานทุกขั้นตอน (ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง, จัดเตรียมแผนที่/บัญชีเขต, จัดทำแบบสอบถาม, เตรียมการประมวลผล, จัดทำระบบ Internet/TIC, จัดทำสื่อการสอน (DVD), ประชาสัมพันธ์ฯลฯ) 2550 ; ศึกษาการใช้ประโยชน์จากข้อมูลทะเบียนราษฎร (UNFPA) 2550-51 ; ทดลองเรื่องการย้ายถิ่นของคนต่างชาติ (WB) (เทคนิคการเก็บข้อมูลและการเข้าถึงแรงงานต่างด้าว)
11. ระยะเวลาในการดำเนินงาน (ต่อ) 2. 2551 ; สำมะโนทดลอง (พิษณุโลก) 2552 ; สำมะโนทดลอง (กทม.) 2553 ; สำมะโนจริง (ทั่วประเทศ) 3. 2553-54 ; นำเสนอผล/เผยแพร่ข้อมูล - รายงานผลเบื้องต้น (77 ฉบับ) - รายงานผลล่วงหน้า (1 ฉบับ) - รายงานผลฉบับสมบูรณ์ (81 ฉบับ)
บรรณาธิกรและลงรหัส บันทึกข้อมูล(PC) Machine editing เดินตาราง ; ( ภาคและทั่วประเทศ) เดินตาราง(จังหวัด) ตรวจสอบความถูกต้อง (รายงานผลจังหวัด) รายงานผลเบื้องต้น ส่วนกลาง สถจ./ สบจ. 12. การประมวลผล แบบนับจด 45
แบบแจงนับ Image บรรณาธิกร และลงรหัส Digital data ICR (SCAN) Machine editing รายงานผล (จังหวัด) เดินตาราง ; 1% ,100% รายงานผลล่วงหน้า รายงานผลสมบูรณ์ ; (ภาคและทั่วประเทศ) ส่วนกลาง สถจ./สบจ. (Verified)
1. จัดทำรายงานผล - รายงานผลเบื้องต้น ;3 เดือนหลังงานสนาม - รายงานผลล่วงหน้า ;6 เดือนหลังงานสนาม • รายงานผลฉบับสมบูรณ์ ;ปี 2553-54 (ทยอยทีละจังหวัด) 13. การนำเสนอผลและเผยแพร่ข้อมูล 2. จัดทำ Web Page รายงานผล ; http://www.nso.go.th/pop-census 3. จัดทำคลังข้อมูลสถิติ (Data Warehouse) 4. จัดทำระบบการนำเสนอข้อมูลด้วยแผนที่ (GIS) 5. วิเคราะห์เฉพาะเรื่อง (ร่วมกับสถาบันการศึกษา)
ขอตั้ง 1,123.29 ล้านบาท (ได้เบื้องต้น 978.87) 2551 21.89 ล้านบาท 2552 30.50 2553 1,012.42 2554 58.98 (ได้เบื้องต้น 867.50) 14. งบประมาณทั้งโครงการ
วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ 2.2 ความก้าวหน้าในการเตรียมงานโครงการ สำมะโนประชากรและเคหะพ.ศ. 2553
สำมะโนประชากรและเคหะ 2553 การเตรียมงาน ด้านวิชาการ สร้างเครือข่าย ภาครัฐ/ประชาชน