360 likes | 540 Views
ประชุมโครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มและราคาผลปาล์มตกต่ำ ปี 2555-2556. วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ. วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบและพิจารณา. 1. สถานการณ์ปาล์มน้ำมันของไทย ปี 2553-2555. เอกสารประกอบการประชุมชี้แจง โครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์ม
E N D
ประชุมโครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มและราคาผลปาล์มตกต่ำ ปี 2555-2556
วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบและพิจารณา
1. สถานการณ์ปาล์มน้ำมันของไทย ปี 2553-2555 เอกสารประกอบการประชุมชี้แจง โครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์ม และราคาผลผลิตปาล์มน้ำมันตกต่ำ ปี 2555-2556
พื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตปาล์มน้ำมันของไทยพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตปาล์มน้ำมันของไทย 03/02/56 5
บัญชีสมดุลน้ำมันปาล์มของไทย หน่วย : ล้านตัน 03/02/56 6
ราคาผลปาล์มสดทั้งทะลาย ปี 2549-2554 03/02/56 7
ราคาผลปาล์มสดทั้งทะลาย ปี 2553-2555 4.83 03/02/56 8
ความเคลื่อนไหวของผลผลิตและราคาความเคลื่อนไหวของผลผลิตและราคา การส่งออกน้ำมันปาล์มดิบและน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ในช่วง 6 เดือนแรก ของปี 2555 ปรับเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ถึงร้อยละ 364 และร้อยละ 92.3 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรคาดการณ์ว่าน้ำมันปาล์มดิบที่ผลิตได้จะมีปริมาณ มากกว่า 1.9 ล้านตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5-7 จากปีก่อน ในช่วง 8 เดือนแรกที่ผ่านมา ปัญหาน้ำมันพืชบรรจุขวดที่วางจำหน่ายไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภคในบางช่วง ความต้องการใช้น้ำมันปาล์มดิบในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการใช้ผลิตพลังงานทดแทน ผลผลิตปาล์มออกสู่ตลาดน้อยลงกว่าช่วงปกติ ปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกา (สหรัฐฯ บราซิล อาร์เจนตินา) 03/02/56 9
ตารางแสดงผลผลิตปาล์มน้ำมันแยกรายเดือน ปี 2555 03/02/56 10
ผลกระทบ น้ำมันบริโภคเริ่มมีขายน้อยลง ราคาผลปาล์มสดทั้งทะลายสูงขึ้น รัฐบาลกำหนดราคาน้ำมันพืชบรรจุขวดไม่เกิน 42 บาท/ลิตร เกิดการกักตุน เก็งราคา เก็บภาษีส่งออก ร้อยละ 10 ผลักดันให้มีการนำเข้าจากต่างประเทศ 03/02/56 12
ผลกระทบ (ต่อ) คณะรัฐมนตรี มีมติอนุญาตการนำเข้าน้ำมันปาล์ม 4 หมื่นตัน สำหรับใช้ในการผลิตน้ำมันปาล์มบรรจุขวด กระทรวงพลังงานประกาศปรับลดสัดส่วนการผลิตไบโอดีเซล จากร้อยละ 4.5-5 เป็น ร้อยละ 3.5 03/02/56 13
03/02/56 14
ผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้า AEC 03/02/56 16
ผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้า AEC(ต่อ) 03/02/56 17
แนวทางการปรับตัวของผู้ประกอบการเพื่อรองรับผลกระทบจาก AEC เกษตรกร ต้องให้ความสำคัญกับการปรับปรุงการเพาะปลูก เพื่อให้ได้ผลผลิตต่อไร่สูง เลือกพื้นที่เพาะปลูกที่เหมาะสม การใส่ปุ๋ยในแต่ละช่วงอายุของต้นปาล์ม คัดเลือกพันธุ์ ที่มีอัตราการให้น้ำมันสูง การตัดแต่งทางใบ วางแผนเพาะปลูกปาล์มน้ำมันทดแทนต้นเก่า 03/02/56 18
2. สถานการณ์ปัญหาและการร้องเรียนของเกษตรกรชาวสวนปาล์ม ตั้งแต่วันที่ 2 ธ.ค.55 เป็นต้นมา เกษตรกรจากหลายจังหวัดในแหล่งผลิตหลัก เช่นนครศรีธรรมราช ระนอง ชุมพร กระบี่ ตรัง ฯลฯ ร้องเรียนเรื่องราคาผลปาล์มตกต่ำ ..และเรียกร้องให้รัฐบาลเข้ามาดำเนินการ ได้แก่ - พยุงราคาปาล์มทะลาย ไม่ต่ำกว่า5 บาท /กก. - ชดเชยราคาผลปาล์มให้เกษตรกรโดยตรง ผ่าน ธกส. - ให้รัฐบาลจัดทำสต๊อกกลางเก็บน้ำมันดิบเพื่อรอจำหน่าย และให้ชาวสวนปาล์มเป็นกรรมการตรวจสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบ - เร่งดำเนินการผลิตไบโอดีเซล B5-B10 - ให้ช่วยเหลือภายในวันที่ 18 ธ.ค.55 เป็นต้น
3. นโยบายและการแก้ไขปัญหาของรัฐบาล • 12 ธ.ค.55 ตัวแทนของรองนายกรัฐมนตรี (นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง) โดย นายสุพร อัตถาวงศ์ เป็นประธานประชุมร่วมกับตัวแทนเกษตรกร ณ ทำเนียบรัฐบาล มอบหมายให้กระทรวงพาณิชย์พยุงราคาปาล์ม กก.ละ 5 บาท • 19 ธ.ค.55 คณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ำมันแห่งชาติ (กนป.) มีมติให้โรงสกัดรับซื้อผลปาล์มน้ำมัน ที่อัตราน้ำมัน 17 % ราคา กก.ละ4 บาท และอัตราน้ำมัน 18.5 % กก.ละ 4.35 บาท และให้รับซื้อน้ำมันปาล์มดิบ กก.ละ 25 บาท จำนวน 50,000 ตัน ในวันเดียวกันกับเกษตรกรจังหวัดชุมพรปิดถนนเรียกร้องให้เร่งดำเนินการตามข้อเรียกร้องเดิม
จาก.. มติ ของ กนป.***กำหนดให้กระทรวงพาณิชย์ เป็นผู้ดำเนินการในการรับซื้อน้ำมันปาล์มดิบจากโรงสกัด ราคา กก.ละ 25 บาท และให้โรงสกัด รับซื้อผลปาล์มสดจากเกษตรกร กก.ละ 4 บาทขึ้นไป*** โดยให้หารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแนวทางบริหารจัดการและขั้นตอนการดำเนินงาน เงื่อนไขการดำเนินโครงการของกระทรวงพาณิชย์กำหนดให้เจ้าหน้าที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพื้นที่ให้การรับรองเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อยืนยันว่าผลผลิตปาล์มที่รับซื้อในโครงการเป็นของเกษตรกรจริง
4.มาตรการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มฯ ปี 55-56 ระยะที่ 1 : คชก.อนุมัติให้อคส.รับซื้อน้ำมันปาล์มดิบ จำนวน 50,000 ตัน ตั้งแต่เดือน ธ.ค. 55 ระยะที่ 2: คชก. อนุมัติให้ อคส.รับซื้อน้ำมันปาล์มดิบ เพิ่มอีก จำนวน 50,000 ตัน ถึงเดือนเม.ย.56
5.ปัญหาจากการดำเนินงานของกระทรวงพาณิชย์5.ปัญหาจากการดำเนินงานของกระทรวงพาณิชย์ 1. โรงงานสกัดน้ำมัน ที่รับซื้อผลปาล์มจากเกษตรกรไปแล้ว ไม่สามารถเบิกเงินค่าน้ำมันปาล์มดิบในราคา 25 บาท/กก.จาก อคส.ได้ เนื่องจากยังไม่ได้มีการรับรองว่าซื้อผลปาล์มมาจากเกษตรกรจริง ตามเงื่อนไขของโครงการ 2. ผู้แทนเกษตรกร ร้องเรียนว่าเกษตรกรรายย่อยไม่ได้รับการช่วยเหลือจากมาตรการของรัฐ อย่างแท้จริง
แนวทางการการแก้ปัญหา 16 มกราคม 2556 กรมการค้าภายใน ขอความร่วมมือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ให้รับรองความเป็นเกษตรกรที่ได้จำหน่ายผลปาล์มให้โรงงานสกัดไปแล้ว เพื่อให้โรงงานสามารถเบิกเงินค่าน้ำมันปาล์มดิบจาก อคส. และมีเงินมาหมุนเวียนรับซื้อในรอบต่อไป • หาแนวทางในการรับรองความเป็นเกษตรกรรายย่อย เพื่อให้เกษตรกรส่วนใหญ่ได้รับประโยชน์จากมาตรการช่วยเหลือของรัฐ
6.แนวทางการรับรองเกษตรกรของกรมส่งเสริมการเกษตร6.แนวทางการรับรองเกษตรกรของกรมส่งเสริมการเกษตร ระยะที่ 1 : 50,000 ตันแรก รับรองความเป็นเกษตรกรเท่านั้น ระยะที่ 2 : 50,000 ตัน • ขึ้นทะเบียนตามแนวทางการขึ้นทะเบียน เกษตรกรปลูกพืชเศรษฐกิจ • ออกใบรับรองว่าเป็นเกษตรกรรายย่อย เฉพาะผู้ที่มีสิทธิ์เข้าร่วมโครงการ
7. หลักเกณฑ์การรับรองเกษตรกร 7.1การรับรองเกษตรกรตามแผนการรับซื้อระยะที่ 1(50,000 ตัน แรก) ตามหนังสือกรมส่งเสริมฯกษ 1012/ว55ลงวันที่ 17 มกราคม 2556 • ตรวจสอบรายชื่อเกษตรกรจากบัญชีรับซื้อผลปาล์มของโรงสกัด • รับรองว่าเป็นเกษตรกรตามที่ได้ขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.)ไว้กับกรมส่งเสริมการเกษตร • ในการรับรองดังกล่าวเป็นการรับรองเฉพาะความเป็นเกษตรกรเท่านั้นไม่รวมถึงเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน พื้นที่ ผลผลิต หรือสาระสำคัญอื่น และหนังสือกรมส่งเสริมฯ ที่ กษ 1012/ว 86 ลงวันที่ 28 มกราคม 2556 ให้เกษตรกรที่จำหน่ายผลปาล์มให้โรงงานสกัดไปแล้ว และยังไม่มีรายชื่อใน ทบก.มาขึ้นทะเบียนเพิ่มเติม เพื่อให้การรับรองต่อไป
วิธีการขึ้นทะเบียน 7.2 การขึ้นทะเบียนเกษตรกรและออกใบรับรองผู้ปลูกปาล์มระยะที่ 2 (50,000 ตัน) หนังสือกรมส่งเสริมฯกษ 1012/ว 60 ลงวันที่ 18 มกราคม 2556 • สำนักงานเกษตรจังหวัด /อำเภอ ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในเขตพื้นที่ส่งเสริม 28 จังหวัด มาขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน โดยให้เกษตรกรขอรับแบบขึ้นทะเบียนได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอในท้องที่ • ยึดหลักเกณฑ์และวิธีการขึ้นทะเบียน ให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ • ออกใบรับรองให้เฉพาะเกษตรกรรายย่อย เพื่อนำไปแสดงในการเข้าร่วมโครงการ
วิธีขึ้นทะเบียน (ต่อ) • รับขึ้นทะเบียน ตามแบบคำร้องที่กำหนด (ในแต่ละแปลงต้องให้เกษตรกรแปลงข้างเคียงและกำนัน ผู้ใหญ่บ้านฯลฯ ลงนามรับรอง) • บันทึกข้อมูลของเกษตรกรลงในระบบ ที่http//:palm.doae.go.th • ติดประกาศรายชื่อในที่สาธารณะให้ร่วมกันตรวจสอบ 3 วัน • สุ่มตรวจพื้นที่ร้อยละ 10 • ออกใบรับรองให้กับเกษตรกร และสรุปรายชื่อที่ผ่านการรับรองแล้วให้สำนักงานการค้าภายในของจังหวัด • หากมีข้อขัดแย้ง ให้คณะกรรมการเพื่อแก้ไขปัญหาเกษตรกรอันเนื่องมาจากผลิตผลการเกษตรระดับจังหวัด (คพจ.) เป็นผู้วินิจฉัย
คุณสมบัติของเกษตรกรที่มีสิทธิ์ขึ้นทะเบียนคุณสมบัติของเกษตรกรที่มีสิทธิ์ขึ้นทะเบียน • มีสัญชาติไทย • ขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.01) กับกรมส่งเสริมการเกษตรไว้แล้ว • ต้องปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศเป็นเขตส่งเสริมปลูกปาล์มน้ำมัน • ปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นทีทีมีสิทธิทำกินในที่ดินโดยชอบด้วยกฎหมาย • รับขึ้นทุกราย
คุณสมบัติของเกษตรกรรายย่อยที่มีสิทธิ์เข้าร่วมโครงการ(ออกใบรับรองได้)คุณสมบัติของเกษตรกรรายย่อยที่มีสิทธิ์เข้าร่วมโครงการ(ออกใบรับรองได้) หนังสือกรมส่งเสริมการเกษตรกษ 1012/ว 96 ลงวันที่ 30 มกราคม 2556 • เป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมส่งเสริมการเกษตร • ต้องปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศเป็นเขตส่งเสริมปลูกปาล์มน้ำมัน • ปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ที่มีสิทธิทำกินในที่ดินโดยชอบด้วยกฎหมาย • มีพื้นที่การผลิตปาล์มน้ำมัน ไม่เกิน 50 ไร่
ฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (ทบก.01) ผู้ปลูกปาล์มน้ำมันแยกตามขนาดพื้นที่ปลูก
แผนปฏิบัติการขึ้นทะเบียนเกษตรกรปลูกปาล์มน้ำมัน โครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มและราคาผลปาล์มตกต่ำ ปี 2555-2556 • ม.ค.-ก.พ.56 ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรมาขึ้นทะเบียน • ม.ค.-ก.พ.56 รับคำร้องขอขึ้นทะเบียน • ม.ค.-ก.พ.56 บันทึกข้อมูล/สุ่มตรวจ • 4 -5 ก.พ. 56 ประชุมชี้แจงการออกใบรับรอง • ม.ค.-ก.พ.56 ออกใบรับรองให้เกษตรกร • ก.พ.-มิ.ย.56 ติดตามประเมินผล
หน่วยงานร่วมดำเนินการหน่วยงานร่วมดำเนินการ 1. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร เขต 1 3 4 5 2. สำนักงานเกษตรจังหวัด ในเขตพื้นที่ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศเป็นเขตส่งเสริมปลูกปาล์มน้ำมัน 24 จังหวัด คือ จันทบุรี ตราด ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ประจวบคีรีขันธ์ กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช พังงา พัทลุง ภูเก็ต ระนอง สงขลา สตูล สุราษฎร์ธานี นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และหนองคาย และบึงกาฬ และจังหวัดในพื้นที่สวนส้มร้างทุ่งรังสิตที่ได้รับการประกาศเป็นรายแปลง 4 จังหวัด คือ จังหวัดปทุมธานี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา และนครนายก
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน (จากงบ คชก.) • ค่าประชาสัมพันธ์ • ค่าใช้จ่ายในการขึ้นทะเบียนและออกใบรับรองเกษตรกรรายย่อย - ค่าจัดทำใบคำร้องขอขึ้นทะเบียน รายๆละ 2 บาท - ค่าออกใบรับรองจำนวน รายๆละ 2 บาท - ค่าใช้จ่ายในการสุ่มตรวจ (ร้อยละ 10 ของจำนวนเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน)รายละ 15 บาท • ค่าใช้จ่ายในการติดตามนิเทศ กรมส่งเสริมการเกษตร ได้แจ้งขอให้เปิดบัญชีธนาคาร ธ.ก.ส. ตามหนังสือกรมส่งเสริมฯ ที่ กษ 1012/ว 111 ลงวันที่ 31 มกราคม 2556
การบันทึกข้อมูลและออกใบรับรองการบันทึกข้อมูลและออกใบรับรอง • ศูนย์สารสนเทศ