160 likes | 306 Views
ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หลังจัดตั้ง กบช. ปี 2550. โดย คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง. โครงสร้างของระบบการออมเพื่อการชราภาพในปัจจุบัน. Mandatory. Voluntary. Pillar 1. Pillar 2. Pillar 3. กองทุนประกันสังคม
E N D
ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหลังจัดตั้ง กบช. ปี 2550 โดย คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
โครงสร้างของระบบการออมเพื่อการชราภาพในปัจจุบัน Mandatory Voluntary Pillar 1 Pillar 2 Pillar 3 กองทุนประกันสังคม (กรณีชราภาพ+สงเคราะห์บุตร) กองทุนบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม เพื่อการเลี้ยงชีพ • Pay as you go • ลูกจ้างเอกชน และ ลูกจ้างชั่วคราวราชการ • ลูกจ้าง+นายจ้าง จ่าย ฝ่ายละ 3% ของค่าจ้าง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท • รัฐบาลจ่าย 1% ของ ค่าจ้าง • Defined Contribution • ข้าราชการ • ข้าราชการ+รัฐบาล จ่าย ฝ่ายละ 3% ของ เงินเดือน • Defined Contribution • ลูกจ้างเอกชน ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ และ ลูกจ้างประจำราชการ • ลูกจ้าง+นายจ้าง จ่าย ฝ่ายละ 2-15% ของ ค่าจ้าง • ซื้อหน่วยลงทุน ไม่ต่ำกว่าปีละ 5,000 บาท หรือ 3% ของเงินได้ SSF GPF PVD RMF
การปฏิรูประบบการออมเพื่อการชราภาพการปฏิรูประบบการออมเพื่อการชราภาพ
การจัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติการจัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ • หลักการ • เพื่อให้ประเทศไทยมีระบบ Multi-Pillar • เหตุผลและความจำเป็น • แรงงานมีรายได้ที่เพียงพอหลังเกษียณ • ส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนให้เพิ่มสูงขึ้น • สวัสดิการเพื่อการชราภาพครอบคลุมแรงงานทั้งประเทศ • สร้างความยั่งยืนทางการเงินและการคลัง • สร้างเสถียรภาพและความยั่งยืนของตลาดทุนไทย
การดำเนินการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพการดำเนินการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ วิวัฒนาการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
สถานะกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจากอดีตสู่ปัจจุบันสถานะกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจากอดีตสู่ปัจจุบัน 8.13% 6.31 % 17.36 % ล้านบาท 330,290 9.83 % 30 กันยายน 2548 จำนวนเงินกองทุน 330,290 ล้านบาท จำนวนกองทุน 555 กองทุน จำนวนนายจ้าง 6,977 ราย จำนวนสมาชิก 1,605,591 ราย 305,462 10.73 % 287,329 10.16 % 244,822 15.37 % 222,901 15.44 % 201,303 50.57 % 182,736 59.55 % 158,387 137,197 79.77 % 34.82 % 40.94 % 91,121 72.63 % 26.34 % 33.75 % 55,800 32.34 % 36.22 % 31.32 % 31,770 99.64 % 115.78 % 23,564 16,719 9,685 7,110 5,316 4,048 3,204 2,421 1,122 562 มูลค่ากองทุน (ล้านบาท)
โครงสร้าง กบช. • Defined Contribution • ระบบบัญชีรายตัวสมาชิก • เลือกรูปแบบการลงทุนด้วยตนเองได้ • ครอบคลุมแรงงาน ~ 13ล้านคน • เบื้องต้นกำหนดการจ่ายเงินสะสม/สมทบ 3% ของค่าจ้าง • ไม่มีการกำหนดเพดานเงินเดือน • อายุเกษียณ 60 ปี • ภาษีแบบ EEE
การบริหารจัดการและการกำกับดูแล กบช. • การกำกับดูแล • สำนักงานกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ • บริหารจัดการกองทุน • บริษัทจัดการลงทุน • การจัดเก็บเงิน • ธนาคารพาณิชย์หรือบริษัทจัดการลงทุน • การจัดทำฐานข้อมูล • จ้างหน่วยงานภายนอก
การบริหารจัดการและการกำกับดูแล กบช. ผู้กำหนดนโยบาย คณะกรรมการนโยบายเงินออมเพื่อการชราภาพ สำนักงานประกันสังคม (สปค.) กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) สำนักงานกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ (กบช.) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ผู้กำกับดูแล กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund : RMF) กบข. (P2) กองทุนชราภาพ (P1) กบช.+ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (P2+P3) กองทุน กระจายการบริหาร รวมศูนย์การบริหาร รวมศูนย์การบริหาร กระจายการบริหาร การจัดการกองทุน
ผลที่ได้รับจากการจัดตั้งกองทุน กบช. • รายได้หลังเกษียณเพิ่มขึ้น • ปริมาณเงินออมในประเทศเพิ่มขึ้น • สร้างความยั่งยืนทางการคลัง • ส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุนในประเทศ
ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหลังจัดตั้ง กบช. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น • ปริมาณเงินออมใหม่ผ่านกองทุน Pillar 3อาจมีอัตราการเติบโตช้าลง • ปริมาณเงินออมเดิมที่มีอยู่ในกองทุน Pillar 3อาจลดขนาดลงในระยะแรก :- • PVD ที่จ่าย ณ อัตรา 2 % ของค่าจ้าง อาจยกเลิกกองทุน PVD • PVD ที่จ่าย > 3 % ของค่าจ้าง จะโอนมา กบช. และยกเลิกกองทุน PVD ส่วนที่ > 3% ของค่าจ้าง
แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. กรณีอนุญาตให้โอนเงิน PVD ไป กบช. เดิม ใหม่ ก. PVD 2% กบช. 3% จ่ายเพิ่ม 1% ข. PVD 2% กบช. 3% PVD 2% • จ่ายต่อในอัตราเดิม • จ่ายต่ำกว่าอัตราเดิม • หยุดจ่าย + ค. PVD 3% PVD ส่วนที่เหลือ • จ่ายต่อในอัตราเดิม • จ่ายต่ำกว่าอัตราเดิม • หยุดจ่าย กบช. 3% +
แนวทางแก้ไขปัญหา (ต่อ) 2. กรณีอนุญาตให้ผู้ที่จัดตั้ง PVD ได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดตั้ง กบช. เดิม ใหม่ ก. PVD 2% PVD/กบช. 3% ห้ามยกเลิก ตั้งแต่วันที่กฎหมายประกาศบังคับใช้ จ่ายเพิ่ม 1% ข. ห้ามยกเลิกในส่วน 3% ตั้งแต่วันที่กฎหมายประกาศบังคับใช้ PVD 3% PVD/กบช. 3%
แนวทางแก้ไขปัญหา (ต่อ) 3. กำหนดกรอบ TAX ที่แตกต่างกัน EET กบช. EEE PVD 4. โครงการสัมมนา & ประชาสัมพันธ์ทั่วประเทศ
การส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพการส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • การดำเนินการแก้ไข พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพในปัจจุบัน • - การขอรับเงินรายงวดเมื่อเกษียณอายุ • - การรับรับโอนเงินจาก กบข. ได้ • - การเปิดโอกาสให้การจัดตั้งกองทุนมีหลายนโยบายการลงทุนได้ • การแก้ไข พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ.2530 เมื่อมีกองทุน กบช. • - ยกเลิกอัตราขั้นต่ำและเพดานขั้นสูงในการจ่ายเงินสะสมสมทบ • - สามารถจัดตั้งกองทุนขาเดียวได้ • - ให้สมาชิกสามารถย้ายเงินกองทุนได้เมื่อย้ายงาน และสามารถคงเงินไว้ในกองทุนได้เมื่อเกษียณอายุ เป็นต้น
PVD กบช PVD ขอขอบคุณ