520 likes | 751 Views
ระบบการติดตามงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2553 กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน. ทำไมต้องมีการติดตามงาน ??? วัตถุประสงค์ของการติดตามงาน 1. เพื่อทราบข้อมูลความก้าวหน้า ผลงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการปรับปรุงงาน 2. เพื่อใช้ข้อมูลในการควบคุม กำกับ ปรับปรุง และสนับสนุน การทำงาน.
E N D
ระบบการติดตามงานปีงบประมาณ พ.ศ.2553กลุ่มติดตามและประเมินผลกองแผนงาน
ทำไมต้องมีการติดตามงาน ???วัตถุประสงค์ของการติดตามงาน1. เพื่อทราบข้อมูลความก้าวหน้า ผลงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการปรับปรุงงาน2. เพื่อใช้ข้อมูลในการควบคุม กำกับ ปรับปรุง และสนับสนุน การทำงาน
การวางแผนกับการบริหารการวางแผนกับการบริหาร การวางแผนหัวใจของการบริหาร A P C D PLAN วัตถุประสงค์/เป้าหมายชัดเจน(ต้องการผลสัมฤทธิ์อะไร) DOปฏิบัติมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้ CHECKวัดว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนหรือไม่(KPI ชัดเจน) ACTปรับปรุงแก้ไขให้ได้ตามที่วางแผนไว้
การวางแผนกับการบริหารการวางแผนกับการบริหาร กรอบแนวคิดการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์ (Results) กิจกรรม (Processes) วัตถุประสงค์ (objectives) ปัจจัยนำเข้า (Inputs) ผลผลิต (outputs) ผลลัพธ์ (outcomes) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness)
แนวคิด1. ทุกระดับ (จังหวัด/สสข./ผู้รับผิดชอบโครงการ) มีการติดตาม ความก้าวหน้า และปรับปรุง เร่งรัด งานที่รับผิดชอบให้บรรลุ วัตถุประสงค์2. ดำเนินการแบบเสริมพลัง โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและใช้ประโยชน์ ร่วมกันไปในทิศทางเดียวกัน3. ใช้วิธีการ รายงานและติดตามในพื้นที่
งาน/โครงการที่ติดตาม - โครงการสำคัญตามนโยบาย - โครงการเฉพาะกิจเร่งด่วน
output ความก้าวหน้าการปฏิบัติงาน มีการสนับสนุนการปฏิบัติงานในพื้นที่ • ความก้าวหน้าการปฏิบัติงาน • ปัญหา สาเหตุของปัญหา ข้อควรแก้ไข -ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนา การทำงานและพัฒนาเจ้าหน้าที่ • ความก้าวหน้าการปฏิบัติงาน • ปัญหา สาเหตุของปัญหา ข้อควรแก้ไข -ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนา การทำงานและพัฒนาเจ้าหน้าที่ แนวทางการติดตามงาน 2553 มิติโครงการ มิติพื้นที่ มิติโครงการ มิติพื้นที่ มิติโครงการ มิติพื้นที่
จะบรรลุวัตถุประสงค์ของการติดตามงาน ต้องได้รับความร่วมมือ....
ส่วนกลาง 1. ตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการ จากรายงาน e-project 2. สนันสนุนการปฏิบัติงานติดตามของ สสข./หน่วยปฏิบัติ 3. เข้าร่วมติดตามงานในกรณีที่จำเป็น 4. นำผลการติดตามที่ได้รับจาก สสข. มาสรุปและวิเคราะห์ เพื่อนำเสนอต่อผู้บริหารและเจ้าของโครงการ
สสข. 1. ตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการ จากรายงาน e-project 2. ศึกษา/ทำความเข้าใจกับประเด็นการติดตาม ซึ่งสามารถ Download เพิ่มเติมได้จาก www.plan.doae.go.th 3. ศึกษา/ทำความเข้าใจกับระบบ e-project / rbm / การติดตามงาน จากคู่มือซึ่งสามารถ Download เพิ่มเติม ได้จาก www.plan.doae.go.th 4. ศึกษา/ทำความเข้าใจกับโครงการ จากคู่มือซึ่งสามารถ Download เพิ่มเติมได้จาก www.doae.go.th 5. ออกติดตาม และให้คำปรึกษา แนะนำแก่หน่วยปฏิบัติ 6. รายงานผลการติดตามงานให้กองแผนงานตามแบบฟอร์ม ที่กำหนด (อยู่ในคู่มือการติดตามงาน, www.plan.doae.go.th (19 กพ 53))
หน่วยปฏิบัติ 1. ตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการ จากรายงาน e-project 2.ติดตามในพื้นที่ โดยจะมีการติดตามเป็นทีมตามระบบ ส่งเสริม 3. นำข้อแนะนำจากทีมติดตามพิจารณาใช้การดำเนินงาน ต่อไป
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
วัตถุประสงค์ 1. ใช้ในการกำกับ เร่งรัดการปฏิบัติงานโครงการส่งเสริมการเกษตรให้เป็นไปตามเป้าหมาย 2. ใช้เป็นข้อมูลในการติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมการเกษตร 3. ใช้สำหรับการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
สาระสำคัญ เปรียบเทียบแผน/ผล งาน/เงิน ตามโครงการ/กิจกรรม ที่กรมฯ ได้จัดสรร จำนวนเกษตรกรที่ได้รับ การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ความก้าวหน้ากิจกรรมสำคัญ การใช้จ่ายงบประมาณ
การวางแผนและรายงานผล 1. การวางแผน หมายถึง การกำหนดเป้าหมายเชิงปริมาณและเวลาของงาน และงบประมาณที่จะใช้ในแต่ละกิจกรรมที่กำหนดไว้ในคู่มือการดำเนินงานโครงการ แผน รายไตรมาส 2. การรายงานผล หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานและใช้จ่ายงบประมาณของแต่ละกิจกรรม ผล รายเดือน
ผล (งาน/เงิน) รายเดือน ไม่สะสม แบบ ก1/1 แผน/เป้าหมาย (งาน/เงิน) รายไตรมาส กิจกรรม ผู้รายงาน
สสข. / จังหวัด / ศูนย์ปฏิบัติการ - จัดทำแผนและรายงานผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงบประมาณ ในโครงการ/กิจกรรมที่ได้รับจัดสรร - วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงบประมาณของโครงการ และใช้ประโยชน์ในการบริหารงาน เร่งรัด กำกับการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผน
ระบบรายงานผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร(e-project management system)
ระบบรายงานผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรระบบรายงานผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร หน่วยงาน ปีงบประมาณ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ผลการปฏิบัติงาน
ระบบที่ช่วยในการเก็บข้อมูล ติดตาม วิเคราะห์และรายงานสรุปภาพรวม การปฏิบัติงาน/ใช้จ่าย งปม.โครงการ เพื่อทราบสถานการณ์ความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ ใช้เป็นข้อมูล สนับสนุน เร่งรัดและกำกับการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
ขั้นตอน 1. การบริหารข้อมูล2. การวางแผนและรายงานผล3. การติดตามความก้าวหน้า
หัวหน้าส่วนราชการ • มอบหมายผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม • เพิ่ม/ลบ/ปรับปรุงข้อมูลผู้ใช้งานระบบ • ติดตามความก้าวหน้างาน/โครงการของหน่วยงาน
ผู้ปฏิบัติงาน • วางแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • วางแผนการปฏิบัติงาน • ส่งข้อมูลแผนงาน/โครงการขออนุมัติให้รายงาน • รายงานผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงปม.
การติดตามความก้าวหน้าการติดตามความก้าวหน้า • ผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงปม.ภาพรวมของกรมส่งเสริมการเกษตร • ผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงปม. จำแนกตามหน่วยงาน (ก1 หน่วยงาน) • ผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงปม. จำแนกตามโครงการ (ก1 โครงการ) • ผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงปม. จำแนกตามรายละเอียดกิจกรรม/โครงการ (ก1/1) • รายงานอื่นๆ ตามเงื่อนไขที่กำหนด
แผนปฏิบัติงานการรายงานผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร (e-project) กรมฯ กผง. กผง. กอง/สำนัก กรมฯอนุมัติ งปม./คง.2 เชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ ชี้แจงแนวทางการรายงาน จัดทำประเด็นรายงานแบบ ก1/1 14 ธ.ค.52 25 ธ.ค.52 7 ม.ค.53 7-15 ม.ค.53 กผง. กอง/สำนัก กอง/สำนัก กผง. จัดส่งแบบ ก1/1แนวทางการรายงาน/คู่มือ บันทึกข้อมูลจัดสรรรายกิจกรรม/หน่วยงาน ตรวจสอบความถูกต้องชี้แจงจนท.บันทึกข้อมูล จัดทำคู่มือโครงการ 1 ก.พ.53 15-29 ม.ค.53 15-29 ม.ค.53 24 ธ.ค.52 กรมฯ กอง/สำนัก/หน่วยปฏิบัติ หน่วยปฏิบัติ รายงานกระทรวงฯสงป./ก.พ.ร. ติดตามเร่งรัด/กำกับ Download แบบ ก1/1จัดทำ/บันทึกแผนปฏิบัติ บันทึกผลการปฏิบัติงานรายโครงการ/กิจกรรม 1-26 ก.พ.53 ทุกเดือนตามแผน ทุกไตรมาส ทุกเดือน
สิ่งที่ควรปฏิบัติ... • จัดทำแผนและรายงานผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงบประมาณ ในโครงการ/กิจกรรมที่ได้รับจัดสรร • บันทึกผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงปม. ทุกเดือน • วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงบประมาณของโครงการ และใช้ประโยชน์ในการบริหารงาน เร่งรัด กำกับการปฏิบัติงาน/ใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผน แผนอบรม ภายในมิ.ย.53 แผนใช้จ่าย ภายในส.ค.53
การจัดทำรายงานตัวชี้วัดเชิงคุณภาพของกรมส่งเสริมการเกษตรปีงบประมาณ 2553 เชิงคุณภาพ RBM แบบ กสก.
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีข้อมูลในการรายงานผลตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมส่งเสริมการเกษตรที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ และทันเวลาต่อหน่วยงานต่างๆ 2. เพื่อให้กรมส่งเสริมการเกษตรมีฐานข้อมูลของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตร 3. เพื่อให้ทุกหน่วยงานมีการติดตามและประเมินผลงานตนเองอย่างมีระบบ 4. เพื่อให้ทุกหน่วยงานสามารถรายงานความก้าวหน้าตลอดจนผลลัพธ์ของงานส่งเสริมการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กองแผนงาน - ร่วมกับกอง / สำนัก ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรนำความรู้ไปปฏิบัติ - ร่วมกับศูนย์สารสนเทศ จัดทำ / ปรับปรุงหน้าจอการบันทึกข้อมูล - ให้คำแนะนำการดำเนินงานการจัดเก็บข้อมูล - ติดตามสถานการณ์การรายงาน / การบันทึกข้อมูลของหน่วยงานปฏิบัติ - จัดทำรายงานสรุปผลในภาพรวมของกรมฯ เสนอผู้บริหารกรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงบประมาณ ก.พ.ร. บริษัททริส
บทบาท/ขั้นตอน/วิธีการ กอง / สำนักผู้รับผิดชอบโครงการ - กำหนดประเด็นการถ่ายทอดที่ต้องการให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติ - ติดตามสถานการณ์รายงาน / การบันทึกข้อมูลของหน่วยปฏิบัติ - จัดทำรายงานสรุปผลข้อมูลในระดับโครงการ - นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการบริหารโครงการ หรือปรับปรุงการดำเนินงานโครงการ
แบบ กสก. • เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเพื่อประเมินผลการปฏิบัติตามของเกษตรกร • เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรและบุคคลเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการทุกรายใน 2 ช่วงเวลา คือ ครั้งที่ 1 ทำการเก็บข้อมูลในวันที่เกษตรกรเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ เพื่อรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติของเกษตรกรก่อนเข้าร่วมโครงการตามประเด็นหลักที่ต้องการให้เกษตรกรปฏิบัติ ครั้งที่ 2 ทำการเก็บข้อมูลหลังจากที่เกษตรกรเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการไปแล้วอย่างน้อย 2 เดือน เพื่อรวบรวมข้อมูลการนำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการไปปฏิบัติตาม
แบบสัมภาษณ์เพื่อประเมินผลการปฏิบัติตามของเกษตรกร ปี 2553 โครงการ ……………………………………..1. ชื่อเกษตรกร...........................นามสกุล...................................... เลขประจำตัวประชาชน รหัสคนต่างด้าว ที่อยู่ บ้านเลขที่...........หมู่..........ตำบล........... อำเภอ............... จังหวัด.........................หมายเลขโทรศัพท์...................................... 2. เกษตรกรได้เข้าร่วมกิจกรรมใดของโครงการ 1 …………………………………………… 2…………………………………………… 3. อื่นๆ (ระบุ)........................................... 3. ระบุชื่อพืช/สินค้าเกษตร/กิจกรรมเกษตร. 1..........2................3.............. กสก.
4. การปฏิบัติของเกษตรกร (กาเครื่องหมาย ลงใน ช่องว่าง) ตอบได้มากกว่า1 ข้อ 5.สาเหตุที่เกษตรกรไม่นำความรู้ไปปฏิบัติ((กาเครื่องหมายลงใน ) ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ 1. ความรู้ที่ได้ยังไม่สามารถปฏิบัติได้จริง 2. วิธีปฏิบัติยุ่งยาก 3.ต้องใช้เงินลงทุนสูง 4 .ต้องใช้เวลามาก 5. ขาดวัสดุอุปกรณ์ 6 .รอฤดูกาลผลิตใหม่ 7.พื้นที่ไม่เหมาะสม 8. อื่นๆ (ระบุ)…………
6. ผลที่ได้รับจากการนำความรู้ไปปฏิบัติ (กาเครื่องหมายลงในช่องว่าง) ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ ลงชื่อ............................................................ (................................................) ตำแหน่ง........................................................ ผู้รวบรวมข้อมูลรายงาน 7. วันที่อบรม........................ สถานที่อบรม.................
4. สาระสำคัญที่จัดเก็บตามแบบ กสก. ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลมีสาระหลักที่จัดเก็บมีดังนี้ 4.1 ข้อมูลทั่วไป -: ชื่อ – นามสกุล เลขที่บัตรประจำตัวประชาชน รหัสคนต่างด้าว ที่อยู่ของเกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรประจำปี 2553 4.2 การเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ -: การที่เกษตรกรที่เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ และเกษตรกรสามารถเข้าร่วมได้มากกว่า1 กิจกรรม 4.3 ชนิดสินค้าเกษตร (ถ้ามี) -: ระบุชื่อสินค้าเกษตรที่เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้หรือคำแนะนำ
4.4 การปฏิบัติของเกษตรกร -: เป็นการรวบรวมประเด็นที่เกษตรกรนำความรู้ไปปฏิบัติตามหลังเข้าร่วมโครงการ โดยเปรียบเทียบ ก่อนเข้าร่วมโครงการเกษตรกรปฏิบัติอย่างไร หลัง เข้าร่วมโครงการเกษตรกรปฏิบัติอย่างไร 4.5 สาเหตุที่ไม่นำความรู้ไปปฏิบัติ -: เป็นการรวบรวมเหตุผล หรือสาเหตุที่เกษตรกรไม่นำความรู้ไปปฏิบัติตาม 4.6 ผลที่ได้รับจากการนำความรู้ไปปฏิบัติ -: เป็นการรวบรวมผลหรือ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการที่เกษตรกรนำความรู้ไปปฏิบัติ 4.7 วันที่อบรม.................................................... สถานที่อบรม..............................................
หน่วยปฏิบัติ (สสข. / สนง.เกษตรจังหวัด / ศูนย์ปฏิบัติการฯ) - เก็บรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการตามแบบ กสก. - บันทึกข้อมูลบนระบบ Online : http://rbm.doae.go.th - จัดทำรายงานสรุปผลในระดับหน่วยงาน - นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการบริหารงาน
โครงการที่มีการวัดผลงานตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพโครงการที่มีการวัดผลงานตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ • ส่งเสริมการเกษตรในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใต้ • บริหารจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร • บริหารจัดการสินค้าเกษตร • ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน • ปรับระบบการผลิตสินค้าเกษตร • ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน
โครงการที่มีการวัดผลงานตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพโครงการที่มีการวัดผลงานตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 7. การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 9. พัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา 10. พัฒนาองค์กรเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน 11. อุทยานผักพื้นบ้านเพื่อการยังชีพเฉลิมพระเกียรติ (บึงฉวาก) 12. สายใยรักแห่งครอบครัว
ระบบฐานข้อมูลเกษตรกรเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรระบบฐานข้อมูลเกษตรกรเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตร • ในส่วนของโปรแกรม • การเข้าถึงโปรแกรม • http://rbm.doae.go.th หรือ • http://ssnet.doae.go.th
ระบบฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรระบบฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตร
หน้าแรกของโปรแกรม คีย์ รหัส ชื่อผู้ใช้ คีย์ รหัส ผ่าน รหัส ชื่อผู้ใช้ และ รหัส ผ่าน จังหวัด อำเภอ มีแล้วใช้ของเดิม
หน้าโปรแกรมหลัก ถ้าไม่จำเป็นไม่ต้องเปลี่ยน รายงานเมื่อต้องการดูรายงานยอดรวม เป้าหมาย เป็นรายจังหวัด อำเภอ ศูนย์ แยกเป็นรายโครงการ สืบค้นเมื่อบันทึกไปแล้วต้องการเข้าไปแก้ไข หรือ ลบ ข้อมูลโครงการ แบบฟอร์มโครงการเมื่อต้องการเข้าไปคีย์ข้อมูลโครงการต่างๆ
แบบฟอร์มโครงการ แสดงแบบฟอร์ม แบบ กสก. และ ชื่อโครงการ
การออกรายงาน • มี 6 ตารางรายงาน 1. สรุปผลการปฏิบัติตามของเกษตรกรที่เข้ารวมโครงการ 2. จำนวนและร้อยละของเกษตรกรที่ไม่นำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติตาม 3. ประเด็นที่เกษตรกรนำไปปฏิบัติแยกรายโครงการเปรียบเทียบก่อนและหลัง เข้าร่วมโครงการ 4. ผลที่ได้รับจากการนำความรู้ไปปฏิบัติ 5. จำนวนร้อยละของเกษตรกรโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย 6. ทะเบียนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
มีปัญหาข้อสงสัย..ติดต่อมีปัญหาข้อสงสัย..ติดต่อ • กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน • โทร. 0-2579-3011, 0-2940-5741 โทรภายใน 236, 240 • ระบบติดตาม : นายชูพงศ์ ธนะไพศาขมาส, นางสาวปัทมาภรณ์ ติดทะ • ระบบ e-Project : นายสุธีร์ ชัยประเดิมศักดิ์, นางสุทิพพา ขำช่วย • ระบบ RBM : นายสมพงษ์ น้อยสัมฤทธิ์, นางวัชรีพร วิทยกฤตศิริกุล, นางสาวกมลพันธ์ พ่วงอยู่