470 likes | 982 Views
โครงการ การพัฒนาโรงฆ่าสัตว์และสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์. เลือกซื้อเนื้อสัตว์ครั้งใด มั่นใจเขียงสะอาด. นายสัตวแพทย์สมบัติ ศุภ ประภากร ผู้อำนวยการส่วนควบคุมโรงฆ่าสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์. อันตรายจากเนื้อสัตว์ที่มาจากโรงฆ่าสัตว์ที่ไม่ได้มาตรฐาน. ยาปฏิชีวนะ.
E N D
โครงการ การพัฒนาโรงฆ่าสัตว์และสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ เลือกซื้อเนื้อสัตว์ครั้งใด มั่นใจเขียงสะอาด นายสัตวแพทย์สมบัติ ศุภประภากร ผู้อำนวยการส่วนควบคุมโรงฆ่าสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
อันตรายจากเนื้อสัตว์ที่มาจากโรงฆ่าสัตว์ที่ไม่ได้มาตรฐานอันตรายจากเนื้อสัตว์ที่มาจากโรงฆ่าสัตว์ที่ไม่ได้มาตรฐาน ยาปฏิชีวนะ ยาฆ่าแมลง เชื้อโรค ผู้บริโภค สารปนเปื้อน สิ่งแปลกปลอม
มาตรฐานคุณภาพเนื้อสัตว์ดิบมาตรฐานคุณภาพเนื้อสัตว์ดิบ ที่มา:กรมปศุสัตว์
แสดงผลการตรวจสอบสารตกค้างยาสัตว์ในเนื้อสัตว์จากโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศปีงบประมาณ 2549-2553 ที่มา: สำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ และศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์
ผู้บริโภคต้องการเนื้อสัตว์แบบไหน?ผู้บริโภคต้องการเนื้อสัตว์แบบไหน? • สด • สะอาด • ราคายุติธรรม • ปลอดภัยจากสารตกค้าง • ปลอดภัยจากสิ่งปนเปื้อน • ปลอดภัยจากเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค • สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาได้
ทำไมต้องมีโรงฆ่าสัตว์มาตรฐาน?ทำไมต้องมีโรงฆ่าสัตว์มาตรฐาน? เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ในด้านความปลอดภัยของอาหาร เพื่อยกระดับมาตรฐานและส่งเสริมคุณภาพเนื้อสัตว์
หลักการและเหตุผล • โรงฆ่าสัตว์ต้องมีพนักงานตรวจโรคสัตว์ประจำโรงฆ่าสัตว์ ทำหน้าที่ตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนจะเข้าฆ่าที่โรงฆ่าสัตว์ และตรวจเนื้อสัตว์ภายหลังกระบวนการฆ่าสัตว์ เพื่อให้ได้เนื้อสัตว์ที่สะอาด และปลอดภัยต่อการบริโภค • โรงฆ่าสัตว์บางแห่ง ยังมีการแต่งตั้งบุคคลซึ่งขาดความรู้ ความสามารถ และไม่ผ่านการอบรมหลักสูตรการตรวจเนื้อสัตว์มาเป็นพนักงานตรวจโรคสัตว์ ทำให้เนื้อสัตว์ที่ผลิตจากโรงฆ่าสัตว์ อาจมีการปนเปื้อนจากเชื้อโรค
หลักการและเหตุผล (ต่อ) • พัฒนาร้านจำหน่ายเนื้อสัตว์ให้ถูกสุขอนามัย สร้างทางเลือกในการเลือกซื้อเนื้อสัตว์ และให้ความรู้กับผู้บริโภคโดยการเลือกซื้อเนื้อสัตว์จากร้านจำหน่ายเนื้อสัตว์ที่มาจากโรงฆ่าสัตว์ที่มีใบอนุญาต
วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • จัดจ้างพนักงานตรวจโรคสัตว์ จำนวน 190 คน ไปปฎิบัติหน้าที่ตรวจสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจซากหลังฆ่า ณ โรงฆ่าสัตว์ที่เข้าร่วมโครงการฯ • เพื่อพัฒนาโรงฆ่าสัตว์ ร้านจำหน่ายเนื้อสัตว์ ให้ได้มาตรฐานตามที่กำหนด มีระบบการผลิตเนื้อสัตว์ที่มีความปลอดภัยได้มาตรฐาน และสามารถตรวจสอบย้อนกลับเนื้อสัตว์ที่จำหน่าย • เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคเนื้อสัตว์ และคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความปลอดภัยด้านอาหาร
เป้าหมายของโครงการ • ช่วยเหลือผู้ว่างงาน จำนวน 190 อัตรา • ตรวจสัตว์จำนวนไม่น้อยกว่า 2,000,000 ตัว ต่อปี • สนับสนุนให้มีแหล่งจำหน่ายสินค้าที่ปลอดภัยต่อ การบริโภค จำนวน 600 แห่ง ทั่วประเทศ (เป้าหมายปี 2554 จำนวน 200 แห่ง)
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ • จำนวนสัตว์ที่ได้ตรวจสอบ( 2,000,000 ตัวต่อปี) • จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ตรวจวิเคราะห์ 9,120 ตัวอย่าง (โรงฆ่าสัตว์ 1,900 ตัวอย่าง และสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ 7,220 ตัวอย่าง) • จำนวนสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ที่ได้รับรอง 200 แห่งต่อปี หมายเหตุ :งบกิจกรรมตรวจสอบโรงฆ่าสัตว์ฯมีการเก็บตัวอย่างเนื้อสัตว์ 4,000 ตัวอย่าง
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ • จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ผ่านเกณฑ์ - ร้อยละ 30 ในปี 2554 - ร้อยละ 40 ในปี 2555 - ร้อยละ 50 ในปี 2556 • จำนวนสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ที่ต่ออายุ การรับรองไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
เงื่อนไขการคัดเลือกโรงฆ่าสัตว์เงื่อนไขการคัดเลือกโรงฆ่าสัตว์ • โรงฆ่าสัตว์ที่มีใบอนุญาตฯ ทั่วประเทศมีจังหวัดที่เข้าร่วมโครงการ 63 จังหวัด(ยกเว้น14 จังหวัด : ปทุมธานี อ่างทอง ชัยนาท สระแก้ว นครนายก สุรินทร์ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ กำแพงเพชร อุตรดิตถ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ปัตตานี และนราธิวาส) • โรงฆ่าสุกร มากกว่า 50 ตัว/วัน • โค กระบือ มากกว่า 10 ตัว/วัน • สัตว์ปีก มากกว่า 500 ตัว/วัน
การตรวจวิเคราะห์เนื้อสัตว์การตรวจวิเคราะห์เนื้อสัตว์
การตรวจวิเคราะห์เนื้อสัตว์และสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายโดยชุด Testkit • บอแรกซ์ • โคลิฟอร์มในน้ำ/น้ำแข็ง • ความสะอาดของภาชนะ/มือ รวมจำนวนตัวอย่าง 4,000 ตัวอย่าง
การให้ความรู้ผู้บริโภคการให้ความรู้ผู้บริโภค • การเลือกซื้อเนื้อสัตว์(แผ่นพับ/โปสเตอร์) • การเลือกซื้อไข่ (แผ่นพับ/โปสเตอร์) • เนื้อสัตว์อนามัย (แผ่นพับ/โปสเตอร์) • การรับรองสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ (แผ่นพับ เกณฑ์การรับรองสถานที่จำหน่ายและแผ่นพับประชาสัมพันธ์ เรื่องสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์สะอาด แก่ผู้บริโภค) • Popup parabola เรื่องการเลือกซื้อเนื้อ นม ไข่ / เรื่องสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์สะอาด “เขียงสะอาด” • ขั้นตอนการล้างมือ(สติ๊กเกอร์) • คู่มือการเลือกซื้อเนื้อ นม ไข่
การประชาสัมพันธ์โครงการการประชาสัมพันธ์โครงการ • การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ทางโทรทัศน์ • การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ทางวิทยุ • ประชาสัมพันธ์ทางสื่ออื่นๆ เช่น สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์วารสาร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ • การสร้างงาน / จ้างแรงงาน จำนวน 190 คน • ประชาชนได้บริโภคเนื้อสัตว์ที่มีความปลอดภัย และช่วยลดภาระของภาครัฐจากอัตราการเจ็บป่วยของประชาชนจากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ • ส่งเสริมสนับสนุนผู้ประกอบการโรงฆ่าสัตว์ที่มีใบอนุญาตฯ และผู้จำหน่ายเนื้อสัตว์ • ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อเนื้อสัตว์ปลอดภัย เพิ่มขึ้น
จำนวนพนักงานตรวจโรคสัตว์(190 คน จาก 63 จังหวัด)
การพัฒนาสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์สะอาด(เขียงสะอาด)การพัฒนาสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์สะอาด(เขียงสะอาด)
กราฟแสดงผลการสำรวจเชื้อแบคทีเรียในเนื้อสัตว์จากสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ (ก.ค.-ส.ค. 53) สสอ. ที่
กราฟแสดงผลการสำรวจเชื้อแบคทีเรียในเนื้อสัตว์จากสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์(ก.ค.-ส.ค. 53) สสอ. ที่
วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ มีการปฏิบัติอย่างถูกสุขลักษณะและถูกสุขอนามัย 2. เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับเนื้อสัตว์ที่สะอาดและปลอดภัย 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์รับซื้อเนื้อสัตว์จากโรงฆ่าสัตว์ที่มีใบอนุญาตฯ (ฆจส.2) 4. เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิตและการจำหน่ายเนื้อสัตว์ภายในประเทศให้ได้มาตรฐานและปลอดภัยต่อผู้บริโภค 5.สร้างตราสัญลักษณ์ และประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกซื้อเนื้อสัตว์ปลอดภัย
สถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์สะอาด“เขียงสะอาด”สถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์สะอาด“เขียงสะอาด” • สถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ที่ถูกสุขลักษณะ มีการจำหน่ายเนื้อสัตว์ที่สะอาด ปลอดภัย จากโรงฆ่าสัตว์ที่มีใบอนุญาตตั้งโรงฆ่าสัตว์ โรงพักสัตว์และการฆ่าสัตว์(ฆจส.2)
ประเภทการรับรอง 1. แผงจำหน่ายเนื้อสัตว์ในตลาดสด 2. แผงจำหน่ายเนื้อสัตว์นอกตลาดสด 3. ร้านจำหน่ายเนื้อสัตว์
เนื้อสัตว์หมายถึง เนื้อโค เนื้อกระบือ เนื้อแพะ เนื้อแกะ เนื้อสุกร เนื้อไก่ เนื้อเป็ด เนื้อห่านรวมถึงเครื่องในสัตว์
ขั้นตอนการตรวจประเมินขั้นตอนการตรวจประเมิน
คณะกรรมการตรวจประเมินคณะกรรมการตรวจประเมิน สถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์สะอาด • ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้แทน ประธานกรรมการ • ปศุสัตว์จังหวัด หรือผู้แทน รองประธานกรรมการ • สาธารณสุขจังหวัด หรือผู้แทน รองประธานกรรมการ • ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่ กรรมการ • ผู้แทนจากสมาคมตลาดสด ในพื้นที่ กรรมการ • ผู้แทนชมรมองค์กรคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ • หัวหน้ากลุ่มพัฒนาคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ กรรมการและ • เลขานุการ
หลักเกณฑ์การตรวจประเมินหลักเกณฑ์การตรวจประเมิน
ผลการดำเนินงานรับรองเขียงสะอาด(1,005 แห่ง จาก 40 จังหวัด)