1 / 59

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย พ . ศ . ๒๕๔๘

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย พ . ศ . ๒๕๔๘. ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ วัตถุอันตราย ” หมายความว่า ของเสียอันตรายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ . ศ . ๒๕๓๕.

yelena
Download Presentation

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย พ . ศ . ๒๕๔๘

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายพ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ๑ในประกาศนี้ “วัตถุอันตราย”หมายความว่าของเสียอันตรายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตรายพ.ศ. ๒๕๓๕

  2. “ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย”หมายความว่าผู้มีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายตั้งแต่๑๐๐กิโลกรัมต่อเดือนขึ้นไปแบ่งออกเป็นสองขนาดดังนี้“ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย”หมายความว่าผู้มีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายตั้งแต่๑๐๐กิโลกรัมต่อเดือนขึ้นไปแบ่งออกเป็นสองขนาดดังนี้ (1)ขนาดใหญ่ได้แก่ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายตั้งแต่๑,๐๐๐กิโลกรัมต่อเดือนขึ้นไป (2)ขนาดกลางได้แก่ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายตั้งแต่๑๐๐กิโลกรัมต่อเดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง๑,๐๐๐กิโลกรัมต่อเดือน ผู้มีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายไม่เกิน๑๐๐กิโลกรัมต่อเดือนให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงฉบับนี้

  3. “ผู้ขนส่งของเสียอันตราย”หมายความว่าผู้ขนส่งตามประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตรายเรื่องการขนส่งวัตถุอันตรายทางบกพ.ศ. ๒๕๔๕ “ผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตราย”หมายความผู้มีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายดังต่อไปนี้ (๑) โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (๒)โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนำผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ไม่ใช้แล้วหรือของเสียจากโรงงานมาผลิตเป็นวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ใหม่โดยผ่านกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม

  4. (๓)โรงงานกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ(๓)โรงงานกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ (๔)โรงงานเก็บรวบรวมและกำจัดกากกัมมันตรังสี (๕)สถานีขนถ่ายของเสียอันตราย (๖) สถานที่เก็บรวบรวมของเสียอันตราย(๗)โรงงานเผาของเสียอันตราย“เอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย”หมายความว่าเอกสารที่ออกให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายผู้ขนส่งของเสียอันตรายและผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายเพื่อเป็นหลักฐานในการมอบหมายให้ขนส่งของเสียอันตรายที่อยู่ในความครอบครองของตนจากที่แห่งหนึ่งไปยังที่อีกแห่งหนึ่ง

  5. “เลขประจำตัว”หมายความว่าเลขที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมออกให้กับผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายผู้ขนส่งของเสียอันตรายหรือผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายเพื่อใช้ในการติดตามการขนส่งของเสียอันตรายตามระบบเอกสารกำกับการขนส่ง“เลขประจำตัว”หมายความว่าเลขที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมออกให้กับผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายผู้ขนส่งของเสียอันตรายหรือผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายเพื่อใช้ในการติดตามการขนส่งของเสียอันตรายตามระบบเอกสารกำกับการขนส่ง

  6. ข้อ๒ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายผู้ขนส่งของเสียอันตรายหรือผู้เก็บรวบรวมบำบัดของเสียอันตรายต้องแจ้งเพื่อขอมีเลขประจำตัวตามแบบกำกับการขนส่ง-01 ท้ายประกาศกระทรวงนี้และให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมออกเลขประจำตัวให้กับผู้แจ้งภายในเจ็ดวันทำการนับจากวันที่ได้รับแจ้ง

  7. ข้อ๓ให้เลขประจำตัวมี13หลักแต่ละหลักมีความหมายดังต่อไปนี้ข้อ๓ให้เลขประจำตัวมี13หลักแต่ละหลักมีความหมายดังต่อไปนี้ หลักที่๑–๓หมายถึงอักษรย่อที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนดขึ้นในฐานะผู้ให้เลขประจำตัว หลักที่๔หมายถึงอักษรย่อแทนประเภทของผู้ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสียอันตรายได้แก่อักษร“G”(Generator)แทนผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายอักษร“T”(Transporter)แทนผู้ขนส่งของเสียอันตรายและอักษร“D” (Disposer)แทนผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตราย

  8. หลักที่๕–๖หมายถึงเลขสองหลักสุดท้ายของปีที่ออกเลขประจำตัวหลักที่๕–๖หมายถึงเลขสองหลักสุดท้ายของปีที่ออกเลขประจำตัว หลักที่๗–๘หมายถึงตัวเลขระบุจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของสถานที่ดำเนินกิจการของผู้ขอเลขประจำตัวตามตารางแนบท้ายประกาศนี้ หลักที่๙–๑๒หมายถึงลำดับที่ในการออกเลขประจำตัวในแต่ละปีให้เริ่มนับใหม่ทุกครั้งที่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเลขหลักที่๕–๖ หลักที่๑๓หมายถึงเลขซึ่งมีไว้เพื่อการตรวจสอบความถูกต้องทางคอมพิวเตอร์(check digit)

  9. ข้อ๔ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายขนาดใหญ่และขนาดกลางมีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายเป็นระยะเวลาสั้นที่สุดทั้งนี้ไม่เกินระยะเวลาดังต่อไปนี้ข้อ๔ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายขนาดใหญ่และขนาดกลางมีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายเป็นระยะเวลาสั้นที่สุดทั้งนี้ไม่เกินระยะเวลาดังต่อไปนี้ (๑) ขนาดใหญ่เก็บของเสียอันตรายไว้ได้ไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันเริ่มมีไว้ในครอบครอง (๒) ขนาดกลางเก็บของเสียอันตรายไว้ได้ไม่เกินกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันเริ่มมีไว้ในครอบครอง หากไม่สามารถดำเนินการตามระยะเวลาในวรรคหนึ่งได้ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายแจ้งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบและปฏิบัติตามคำแนะนำของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

  10. ข้อ๕ในระหว่างมีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายดำเนินการดังต่อไปนี้ข้อ๕ในระหว่างมีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายดำเนินการดังต่อไปนี้ (๑) จัดทำบัญชีระบุปริมาณจำนวนภาชนะที่ใช้บรรจุตามรายชื่อของเสียอันตรายที่อยู่ในความครอบครองของตนให้เป็นปัจจุบันทุกสามสิบวัน (๒) ของเสียอันตรายต้องบรรจุในภาชนะที่มีสภาพมั่นคงแข็งแรงไม่ทำปฏิกิริยากับของเสียอันตรายที่บรรจุอยู่และต้องเป็นไปตามประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตรายเรื่องการขนส่งวัตถุอันตรายทางบกพ.ศ. ๒๕๔๕

  11. (๓) ตรวจสอบอาคารหรือสถานที่ที่ใช้เก็บภาชนะแผ่นรองพื้นและภาชนะทุกสัปดาห์ (๔) จัดทำแผนและมาตรการป้องกันแก้ไขกรณีเกิดอุบัติภัยหรือเหตุฉุกเฉินให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับเลขประจำตัว (๕) จัดหาอุปกรณ์สำหรับป้องกันอุบัติภัยและเหตุฉุกเฉินให้เพียงพอต่อการป้องกันอุบัติภัยและเหตุฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการรั่วไหลระเบิดหรือเกิดเพลิงลุกใหม้ (๖) ปฏิบัติตามคำแนะนำหลักเกณฑ์และวิธีการอื่นตามที่กรมโรงงานกำหนด

  12. ใบกำกับการขนส่งของเสียอันตราย(แบบกำกับการขนส่ง 02) ท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย พ.ศ. 2547 ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย

  13. ใบกำกับการขนส่งของเสียอันตราย(แบบกำกับการขนส่ง 02) ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย

  14. ใบกำกับการขนส่งของเสียอันตรายใบกำกับการขนส่งของเสียอันตราย • ส่วนที่ 1 แสดงข้อมูลผู้ก่อกำเนิดกากของเสียอันตราย ผู้ประกอบการขนส่ง และผู้รับบำบัดและ/หรือกำจัด ได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เลขทะเบียนอนุญาต • ส่วนที่ 2 แสดงข้อมูลกากของเสียอันตรายที่ขนส่ง ได้แก่ ประเภทกาก ชื่อทางการขนส่ง ประเภทอันตราย (1-9) ปริมาณการบรรจุต่อภาชนะ ปริมาณรวมทั้งหมดที่ขนส่ง • ส่วนที่ 3 แสดงการลงนามรับรองการขนส่งและการบำบัดและการกำจัดของผู้ก่อกำเนิดกากของเสียอันตราย ผู้ประกอบการขนส่ง และผู้รับบำบัดและ/หรือกำจัด ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย

  15. ส่วนที่ 1 ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย

  16. ส่วนที่ 2 ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย

  17. ส่วนที่ 3 ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย

  18. ขั้นตอนการดำเนินการตามระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายขั้นตอนการดำเนินการตามระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย 2 กรมโรงงานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม สถานพยาบาล 3 อุตสาหกรรม กัมมันตรังสี ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย ชุมชนพาณิชยกรรม 6 1 -ผู้ก่อกำเนิดกรอกใบกำกับลงนามในส่วนของผู้กำเนิดทุกฉบับและส่งให้ผู้ขนส่งกรอกใบกำกับและลงนามในส่วนของผู้ขนส่ง -ผู้ก่อกำเนิดเก็บฉบับที่ 2 ไว้ และส่งฉบับที่ 3 ให้หน่วยกำกับดูแล ผู้ประกอบการสถานเก็บกัก บำบัดและกำจัดของเสียอันตราย 5 1 5 6 -ผู้ประกอบการสถานเก็บกักบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายส่งฉบับที่ 6 ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย และฉบับที่ 1 ให้หน่วยงานกำกับดูแล -ผู้ประกอบการสถานเก็บกักบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายเก็บรักษาฉบับที่ 5 ไว้ ผู้ขนส่งของเสียอันตราย 4 1 4 5 6 -ผู้ขนส่งมอบใบกำกับทุกฉบับที่นำมาให้กับผู้ประกอบการสถานเก็บกัก บำบัดและกำจัดของเสียอันตรายกรอกและลงนามในส่วนของผู้ประกอบการ สถานเก็บกักบำบัดและกำจัดของเสียอันตราย -ผู้ขนส่งรับคืนฉบับที่ 4 มาเก็บรักษาไว้ การส่งใบกำกับการขนส่ง ใบกำกับการขนส่ง #

  19. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายพ.ศ. 2547 การขนส่งของเสียอันตรายต้องมี“เอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย”

  20. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายพ.ศ. 2547 ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย ผู้ขนส่งของเสียอันตราย ผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตราย ต้องจัดทำระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายโดยต้องแจ้งขอมีเลขประจำตัวตามแบบกำกับการขนส่ง-01

  21. แบบขอเลขประจำตัวผู้ดำเนินงานแบบขอเลขประจำตัวผู้ดำเนินงาน เกี่ยวกับการจัดการของเสียอันตราย (แบบกำกับการขนส่ง 01) ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย

  22. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายพ.ศ. 2547 ออกเลขประจำตัวภายใน 7 วันทำการนับแต่วันที่ยื่นขอ เมื่อมีเลขประจำตัวแล้วจึงเข้าสู่ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของอันตราย

  23. การขนส่งวัตถุอันตราย สืบเนื่องจากคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2544 ให้คณะกรรมการวัตถุอันตราย ไปกำหนดหลักเกณฑ์และกติกาให้ครบถ้วนชัดเจน และเป็นไปตามมาตรฐานสากล เช่น มาตรฐานและประเภทของรถยนต์ที่ใช้ขนส่งวัตถุอันตราย บรรจุภัณฑ์ แท็งก์ติดตรึง กำหนดเส้นทาง ความเร็ว ช่วงเวลา การตรวจสภาพรถและแท็งก์ ระเบียบวิธีการขนส่ง แล้วนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาโดยผ่านรองนายกรัฐมนตรี (นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์)

  24. คณะกรรมการวัตถุอันตรายได้มีมติประชุมครั้งที่ 14-1/2545 วันพุธที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2545 มีมติเห็นชอบให้ร่างประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ…. ประกาศ ฯ ดังกล่าวจะเป็นมติกลางสำหรับรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบนำไปออกประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้มีผลบังคับใช้ตามมาตรา 20(1) แห่งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ต่อไป ประธานคณะกรรมการได้ลงนามในประกาศฉบับดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2545

  25. ในมติคณะกรรมการประกอบด้วยเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ คือ 1. ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก ผู้ขนส่งและผู้มีไว้ในครอบครองวัตถุอันตรายต้องปฏิบัติตาม “ข้อกำหนดการขนส่งวัตถุอันตราย” และ “ข้อกำหนดของแท็งก์ติดตรึง” 2. กำหนดหน้าที่ผู้ผลิต นำเข้า ส่งออก ผู้ขนส่งและผู้มีไว้ในครอบครองวัตถุอันตราย มีหน้าที่ต้องจัดทำ ตรวจสอบความถูกต้องเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในเรื่องต่างๆ โดยเฉพาะผู้ขนส่ง ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับเส้นทาง ความเร็ว เวลา ปริมาณการบรรทุกและการระงับอุบัติภัย

  26. 3. กำหนดให้ผู้ขับรถมีหน้าที่ต้องตรวจสอบความถูกต้องเกี่ยวกับความปลอดภัย ตรวจสอบความพร้อมของรถ และไม่ขับรถในเวลาที่ร่างกายและจิตใจหย่อนความสามารถ พกใบอนุญาตขับรถ และหนังสือรับรองที่กรมการขนส่งทางบกออกให้ ตลอดจนปฏิบัติตามข้อกำหนดในเรื่อง เส้นทาง ความเร็ว และเวลาในการเดินรถ ปริมาณการบรรทุกและการระงับอุบัติภัย • 4. กำหนดคุณสมบัติของผู้ขับรถ เช่น ต้องผ่านการฝึกอบรม ไม่เป็นผู้เสพของมึนเมาอยู่เป็นประจำ ไม่เคยกระทำผิดเกี่ยวกับกฎหมายยาเสพติด ไม่เป็นผู้พิการหรือมีประวัติส่อไปทางไม่น่าไว้วางใจให้รับผิดชอบในการขับรถ

  27. 5. ผู้ขนส่งจะต้องจัดให้มีการประกันภัยการขนส่งวัตถุอันตราย • 6. เมื่อเกิดอุบัติภัยต้องแจ้งหน่วยงานผู้รับผิดชอบทราบ

  28. ข้อกำหนดการขนส่งวัตถุอันตรายและข้อกำหนดของแท็งก์ติดตรึง( ในประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย ข้อ 2และข้อ 3 ) • ข้อกำหนดดังกล่าว นำมาจากข้อเสนอแนะในการขนส่งสินค้าอันตรายขององค์การสหประชาชาติ( UN-Recommendations)และบางส่วนของข้อตกลงในการขนส่งสินค้าอันตรายทางถนนของกลุ่มประชาคมยุโรป(ADR)

  29. จำแนกประเภทของวัตถุอันตรายจำแนกประเภทของวัตถุอันตราย • การกำหนดชื่อเฉพาะและหมายเลขสหประชาชาติ (เลขสี่หลัก ) • การกำหนดบัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย ตามคุณสมบัติของประเภทนั้น ๆ • ข้อกำหนดใน การใช้ บรรจุภัณฑ์ (packaging , large packaging, IBCs) และแท็งก์ที่ยกและเคลื่อนย้ายได้ (portable tanks) • การกำหนดฉลาก หรือป้าย ติดที่บรรจุภัณฑ์และแท็งก์ • การทำเครื่องหมายบนบรรจุภัณฑ์และแท็งก์ • ข้อกำหนดในการผลิตและการทดสอบการตรวจสอบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ IBCsบรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่และแท็งก์ที่ยกและเคลื่อนย้ายได้ • หลักสูตรการฝึกอบรม -การใช้ การสร้าง การทดสอบ การตรวจสอบและการกำหนดรหัสแท็งก์

  30. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ.2546 ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 ลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2546

  31. ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก ผู้ขับรถ ผู้รับ และผู้มีไว้ในครอบครองวัตถุอันตรายต้องปฏิบัติตามมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย ลงวันที่ 15 สิงหาคม 2545นับตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน 2546 เป็นต้นไป

  32. แท็งก์และบรรจุภัณฑ์ที่สร้างขึ้นใหม่ภายหลังวันที่1พฤศจิกายน2547 ต้องเป็นไปตามประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย(ยกเว้น360วัน) • ผู้ผลิตผู้นำเข้าผู้ส่งออกและผู้มีไว้ในครอบครองต้องนำFixed Tanksไปขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม • Fixed Tanksเก่าก่อนประกาศฉบับนี้มีผลบังคับใช้ให้ใช้ได้ไปจนครบ3ปีปฏิทิน(สิ้นปีพ.ศ.2548)เท่านั้น

  33. บรรจุภัณฑ์และแท็งก์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตรายบรรจุภัณฑ์และแท็งก์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตราย • แท็งก์ที่ติดตรึงอยู่กับตัวรถ • (Fixed Tank) แท็งก์ที่ติดตรึง อยู่กับตัวรถ • Tankcontainer (TC) TC • บรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่ (IBC), IBC • บรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ลิตร 250 450 1000 3000

  34. บรรจุภัณฑ์ (Packaging)

  35. บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตรายบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตราย • บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตรายจะต้องมีขนาดไม่เกิน 400 กิโลกรัม หรือ 450 ลิตร หีบห่อบรรจุวัตถุอันตรายจะต้องมีฉลาก และเครื่องหมายอย่างน้อย 4 ประการ คือ • (1) ฉลาก • (2) หมายเลขสหประชาชาติ (UN-number) • (3) ชื่อของวัตถุอันตราย • (4) เครื่องหมาย UN ที่แสดงระดับมาตรฐานความมั่นคงแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ • (5) เครื่องหมายหรืออักษรอื่น

  36. ตัวอย่าง UN Marking U N 1A1 / x 250 / 02 / TH / THP123 / M ผู้ผลิต หมายเลขเฉพาะของสถาบันตรวจสอบ ประเทศที่อนุญาตให้ใช้เครื่องหมาย ปีที่ผลิต ความสามารถในการทนความดัน (kPa) ระดับมาตรฐานความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ รหัสแทนชนิดและวัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์

  37. รหัสแทนชนิดและวัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์ (1A1) รหัสนี้ต้องประกอบไปด้วย (1) ตัวเลขอารบิคแสดงชนิดหรือรูปลักษณะของบรรจุภัณฑ์ ซึ่งมีดังนี้ รหัส ชนิด / ลักษณะบรรจุภัณฑ์ ถัง (drum ) 2 ถังไม้รูปทรงถังเบียร์ (wooden barrel ) 3 ถังทรงหลายเหลี่ยม (jerricans ) 4 กล่อง ( box ) 5 ถุง ( bag ) 6 บรรจุภัณฑ์ประกอบ (composit packaging) 7 ภาชนะปิดที่มีความดันภายใน A 1 1 1

  38. (2) รหัสชนิดของวัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์(2) รหัสชนิดของวัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์ • รหัส วัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์ • เหล็กกล้า • Bอลูมิเนียม • Cไม้ธรรมชาติ • Dไม้อัด ( plywood ) • F ไม้อัดจากเศษไม้ • Gแผ่นไฟเบอร์ • Hพลาสติก • Lวัสดุสิ่งทอ • Mกระดาษ • Nโลหะอื่น ( นอกจากเหล็กกล้าและอลูมิเนียม ) • Pแก้ว กระเบื้อง หิน 1 1 A A

  39. (3)แสดงลักษณะของบรรจุภัณฑ์ว่ามีฝาเปิดได้หรือไม่(3)แสดงลักษณะของบรรจุภัณฑ์ว่ามีฝาเปิดได้หรือไม่ • หมายเลข แสดงว่าฝาด้านบนเปิดไม่ได้ • หมายเลข 2 แสดงว่าฝาด้านบนเปิดได้ 1 A 1 1

  40. ระดับมาตรฐานความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ระดับมาตรฐานความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ • ระดับมาตรฐานแสดงความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์มี 3 ระดับตามคุณสมบัติความเป็นอันตราย โดยกำหนดความหนา การทนความดันในระดับต่างๆ และทนแรงกระแทก ฯลฯ ดังนี้ • กลุ่มการบรรจุ ระดับมาตรฐานของภาชนะ แสดงด้วยเครื่องหมาย • Iแข็งแรงมาก X • IIแข็งแรงY • IIIแข็งแรงปานกลางZ

  41. IBCs Intermediate Tank Containers

  42. บรรจุภัณฑ์ IBCs (Intermediate Bulk Container,IBCs) ตัวโลหะ IBCs Code:11 A ถุงอ่อน IBCs, big bag Code: 13 L 1 IBCs ที่ทำจาก พลาสติก Code: 31 L2 1

  43. บรรจุภัณฑ์ IBCs (Intermediate Bulk Containers) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่คงรูปหรือยืดหยุ่น ใช้บรรจุของ เหลวหรือของแข็งที่มีขนาดบรรจุไม่เกิน 3,000 ลิตร ได้รับการออกแบบให้เคลื่อนย้ายได้ด้วยเครื่องจักร จะต้องปิดฉลากและเครื่องหมายอย่างน้อย 4 ประการ

  44. (1) ฉลาก • (2) หมายเลขสหประชาชาติ (UN-number) • (3) ชื่อของวัตถุอันตราย • (4) เครื่องหมาย UN ที่แสดงระดับมาตรฐานความมั่นคงแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ IBCs • (5) เครื่องหมายหรืออักษรอื่น

  45. U N 11A / y / 02 89 / TH / Best IBCs 001 /1500 /500 น้ำหนักบรรจุ น้ำหนักวางซ้อนทับ ชื่อและหมายเลขของผู้ผลิต ประเทศที่อนุญาตให้ใช้เครื่องหมาย เดือนและปีที่ทำการผลิต ระดับมาตรฐานความแข็งแรงของ IBCs รหัสใช้แทนชนิดและวัสดุที่ทำ IBCs

  46. รหัสใช้แทนชนิดและวัสดุที่ทำ IBCs ประเภทIBCsสำหรับขนถ่ายของแข็ง สำหรับขนถ่ายของเหลว ภายใต้แรงโน้มถ่วง ภายใต้ความดัน มากกว่า 10 kPa(0.1 bar) คงรูป (1) 11 21 31 ยืดหยุ่น (2) 13 -

  47. ดังนั้นจึงมีวิธีทดสอบดังนี้ดังนั้นจึงมีวิธีทดสอบดังนี้ (1) การทดสอบการตกกระทบ (Drop Test) (2) การตรวจสอบคุณสมบัติการป้องกันการรั่วไหล (Leakproofness Test) (3) การตรวจสอบแรงดันอุทก (Hydraulic Pressure Test) (4) การตรวจสอบความแข็งแรงในการวางเรียงซ้อน (Stacking Test) (5) การทดสอบการยกด้านบน และ/หรือ ด้านล่าง (Top and Bottom Lift Test) (6) การทดสอบการฉีกขาด (Tear Test) (7) การทดสอบ*การล้มคว่ำ (Topple Test) (8) การทดสอบการตั้งขึ้น (Righting Test)

  48. แท็งก์ (Tanks)

More Related