250 likes | 443 Views
เปิดประตูสู่การค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์. FTA. การุณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์ 20 มิถุนายน 2548. ประเด็น. ลักษณะทางเศรษฐกิจของนิวซีแลนด์ การบุกตลาดนิวซีแลนด์ภายหลังความตกลง การค้าเสรี ไทย-นิวซีแลนด์ โครงการส่งเสริมการส่งออกไปนิวซีแลนด์ การเตรียมตัวเพื่อใช้ประโยชน์จากความตกลงฯ.
E N D
เปิดประตูสู่การค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์เปิดประตูสู่การค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ FTA การุณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์ 20 มิถุนายน 2548
ประเด็น • ลักษณะทางเศรษฐกิจของนิวซีแลนด์ • การบุกตลาดนิวซีแลนด์ภายหลังความตกลง การค้าเสรี ไทย-นิวซีแลนด์ • โครงการส่งเสริมการส่งออกไปนิวซีแลนด์ • การเตรียมตัวเพื่อใช้ประโยชน์จากความตกลงฯ
ประเทศนิวซีแลนด์ (2547) เป็นประเทศที่มีประชากรน้อย แต่มีรายได้สูง • รายได้ประชาชาติ: • นิวซีแลนด์ = 93.6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ • ไทย = 156.1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ • รายได้ต่อหัวต่อปี : • นิวซีแลนด์ = 23,047 เหรียญสหรัฐฯ • ไทย = 2,419 เหรียญสหรัฐฯ • มีประชากร 4 ล้านคน และ GDP Growth • ร้อยละ 2-5% ต่อปี
โครงสร้างเศรษฐกิจของนิวซีแลนด์โครงสร้างเศรษฐกิจของนิวซีแลนด์ โครงสร้าง GDP ของนิวซีแลนด์ โครงสร้างสินค้าออกของนิวซีแลนด์ เกษตร 4% อื่นๆ 14% อุตสาหกรรม 30% ทรัพยากร 16% เกษตร 52% บริการ 66% อุตสาหกรรม18%
การเจริญเติบโตของภาคธุรกิจขายปลีกการเจริญเติบโตของภาคธุรกิจขายปลีก ข้อมูลจาก New Zealand Retailer Association
การค้าระหว่างประเทศของนิวซีแลนด์การค้าระหว่างประเทศของนิวซีแลนด์ • ขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมาโดยตลอด และในมูลค่าที่เพิ่มสูงขึ้น • สินค้าส่งออกสำคัญ
การค้าระหว่างไทยและนิวซีแลนด์การค้าระหว่างไทยและนิวซีแลนด์
ประโยชน์ที่ได้รับ ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ - ลงนามความตกลงเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2548 - มีผลใช้บังคับวันที่ 1 กรกฎาคม 2548 1. เปิดตลาดสินค้าในนิวซีแลนด์สำหรับสินค้าไทย 2. คนไทยเข้าไปทำงานได้สะดวกยิ่งขึ้น 3. ความร่วมมือทางการเกษตร
ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ การเปิดตลาดสินค้า การค้าสินค้า (การลดภาษี, สินค้าโควตาภาษี, มาตรการปกป้องพิเศษ) กระบวนการศุลกากร แหล่งกำเนิดสินค้า มาตรฐานสุขอนามัยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การค้าบริการ บริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายบุคคล
ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ ความร่วมมือในประเด็นที่เกี่ยวของกับการค้า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นโยบายการแข่งขัน ทรัพย์สินทางปัญญาการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ ข้อบททางสถาบัน ความโปร่งใสข้อยกเว้นทั่วไป การยุติข้อพิพาท ข้อบทสุดท้าย
การลดภาษีของไทยและนิวซีแลนด์การลดภาษีของไทยและนิวซีแลนด์
สินค้าหลักที่ได้ประโยชน์ในตลาดนิวซีแลนด์(ตามการลดภาษี)สินค้าหลักที่ได้ประโยชน์ในตลาดนิวซีแลนด์(ตามการลดภาษี)
เครื่องปรับอากาศ • การลดภาษีเพิ่มขีดความสามารถกับคู่แข่งขัน: มาเลเซีย และสาธารณรัฐเกาหลี • จีนมีต้นทุนที่ต่ำกว่าไทยประมาณร้อยละ 30-40
ทูน่ากระป๋อง • ไทยครองตลาดปลาทูน่ากระป๋องกว่าร้อยละ 95 โดยออสเตรเลียส่งออกไปนิวซีแลนด์เป็นอันดับสอง ครองตลาดอยู่ที่ประมาณร้อยละ 2 • ภาษีปัจจุบันประมาณร้อยละ 5 ในสินค้ากลุ่มนี้ • ความตกลงฯ ลดภาษีให้ทูน่ากระป๋องเป็น 0 ไทยจะแข่งขันกับออสเตรเลียในระดับที่เท่าเทียมกัน
สินค้าอ่อนไหวที่ไทยกำหนดโควตานำเข้าจากนิวซีแลนด์สินค้าอ่อนไหวที่ไทยกำหนดโควตานำเข้าจากนิวซีแลนด์ • สินค้าที่มีการกำหนดโควตานำเข้า ได้แก่ น้ำนมและนม พร้อมดื่ม มันฝรั่งสดหรือแช่เย็น หัวหอม และเมล็ดพันธุ์หัวหอม โดยมีระยะเวลาการเปิดตลาด 15-20ปี • สินค้านมผงขาดมันเนย ไม่มีการเปิดโควตาเพิ่มเติม แต่ลดภาษีนอกโควตาให้เหลือร้อยละ 90ของอัตราใน WTOและเปิดให้นำเข้าเสรีใน 20ปี
การเปิดตลาดสินค้าเกษตรอ่อนไหวของไทยให้แก่นิวซีแลนด์การเปิดตลาดสินค้าเกษตรอ่อนไหวของไทยให้แก่นิวซีแลนด์ • มีมาตรการปกป้องพิเศษสำหรับสินค้าอ่อนไหวที่ไม่มี TRQ • เช่น เนื้อวัว เนื้อหมู เครื่องใน นมและผลิตภัณฑ์ น้ำผึ้งธรรมชาติ ส้ม องุ่นสด มันฝรั่ง ฯลฯ • สินค้าเหล่านี้จะได้รับการคุ้มครองเป็นระยะเวลา 10 – 15 ปี • ใช้ระยะเวลาในการลดภาษีเป็น 0 นานถึง 10 ปี
การค้าบริการ • จะเจรจาเปิดตลาดการค้าบริการใน 3 ปี หลังจากความตกลงมีผลใช้บังคับ • หนังสือแนบท้ายความตกลงเรื่องการอำนวยความสะดวกด้านการเข้าไปทำงาน • นิวซีแลนด์ • ให้พ่อครัว / แม่ครัวซึ่งได้รับหนังสือรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติสาขาผู้ประกอบอาหารไทย มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 4-5 ปี และได้รับการว่าจ้างจากธุรกิจในนิวซีแลนด์ ไปทำงานในนิวซีแลนด์ได้ 3 ปี ต่ออายุได้อีก 1 ปี • พยายามให้มีการเจรจายอมรับคุณสมบัติผู้ประกอบอาชีพนวดไทย • ไทย • ให้นักธุรกิจนิวซีแลนด์ที่เข้ามาติดต่อธุรกิจสามารถขอ Multiple Visa ได้ • นักธุรกิจนิวซีแลนด์ที่ถือบัตร APEC Business Travel Card มาประชุมในไทยได้ 90 วัน • ให้นักลงทุนนิวซีแลนด์สามารถใช้ศูนย์ One Stop Service for Visa & Work Permit ได้
ขั้นตอนการไปทำงานเป็นพ่อครัว / แม่ครัวในนิวซีแลนด์ภายใต้ TNZCEP การขอ Temporary Work Visa เพื่อไปทำงานในนิวซีแลนด์ • มีสัญญาว่าจ้างจากธุรกิจในนิวซีแลนด์ให้เข้าไปทำงานเป็นผู้ประกอบอาหารไทย • มีเอกสารรับรองจากธุรกิจในนิวซีแลนด์ระบุรายละเอียดตำแหน่งงาน (Position) และคำอธิบายลักษณะงาน (Job Specification) และเงินเดือนที่ว่าจ้าง • มีเอกสารรับรองประสบการณ์การณ์ทำงาน (4-5 ปี) • มีเอกสารรับรองว่ามีสุขภาพดี • มีหนังสือเดินทางไทย • เมื่อได้รับ Work Visa แล้ว จะต้องแจ้งกรมการจัดหางาน และ ตม. ก่อนเดินทางออกจากไทย ไม่มี Labor Market Test สำหรับ การไปทำงานเป็นพ่อครัวไทย กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศจะจัดสัมมนาเรื่องวิธีปฏิบัติในการขออนุญาต ไปทำงานในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในวันที่ 6 ก.ค.2548 ณ กระทรวงพาณิชย์ (13 – 16 น.) รายละเอียดใน www.thaifta.comหรือ www.dtn.moc.go.th
ความร่วมมือทางการเกษตรความร่วมมือทางการเกษตร • ความร่วมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑ์ของไทย • มีการเดินทางไปดูงานในนิวซีแลนด์โดยคณะผู้แทนสมาชิกชุมนุมโคนมแห่งประเทศไทย • อุตสาหกรรมนิวซีแลนด์ เป็นตัวอย่างที่ดี เช่น การมีฝ่ายสนับสนุน การผลิต ทำหน้าที่ปรับปรุงพันธ์ และวิเคราะห์คุณภาพนม เป็นต้น
ความร่วมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑ์ความร่วมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑ์ • การบริหารจัดการการตลาด การรวมตัวกันตั้งกองทุน โดยใช้ ระบบ Share Holder Service การจัดทำ Zoning การเลี้ยงวัวที่เหมาะสม • ให้ความช่วยเหลือในเรื่องเทคโนโลยีการบริหารฟาร์ม การทำโครงการนำร่องต่างๆ และให้ความรู้ต่างๆ • สนใจเข้ามาร่วมลงทุนในประเทศไทยและหวังที่จะร่วมมือกับไทยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์นมใหม่ๆ เพื่อขยายตลาดไปยังประเทศที่ 3 ร่วมกัน
โครงการส่งเสริมการส่งออกไปยังนิวซีแลนด์โครงการส่งเสริมการส่งออกไปยังนิวซีแลนด์ • มีโครงการ Advance Mission พานักธุรกิจไทยเดินทางไปสำรวจลู่ทางการค้าที่ประเทศนิวซีแลนด์ • การส่งเสริมสินค้าไทย ไทยให้นักธุรกิจนิวซีแลนด์เดินทางมาดูงานแสดงสินค้าในไทย
บริษัทค้าปลีกและนำเข้าที่สนใจสินค้าไทยบริษัทค้าปลีกและนำเข้าที่สนใจสินค้าไทย • The Warehouse Group New Zealand • สนใจซื้อสินค้าจากไทยอย่างมาก • เป็นบริษัทค้าปลีกที่ใหญ่ที่สุดในนิวซีแลนด์ ในกลุ่มสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร • ยอดขาย 2.2 พันล้านเหรียญนิวซีแลนด์ และมีกำไร 61.2 พันล้านเหรียญนิวซีแลนด์ • เสนอสินค้าไปขายติดต่อที่ www.thewarehouse.co.nz/ ในส่วน Supplier
ต้องเตรียมความพร้อม • ปรับมาตรฐานสินค้า • ปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน • นักธุรกิจต้องเร่งศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค และเข้าไปเจาะตลาดในนิวซีแลนด์
รายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติมรายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติม Website www.thaifta.com www.dtn.moc.go.th สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Call Center โทร. 02-507-755502-507-7680, 02-507-7687