540 likes | 768 Views
โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด /18 กลุ่มจังหวัด. การประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด วันพฤหัสบดี 3 เมษายน 2557 เวลา 09. 00 น. ณ ห้องฝ้ายคำ ศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ
E N D
โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด การประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด วันพฤหัสบดี3เมษายน 2557 เวลา09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำ ศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์ บุรีรัมย์
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ 2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด 2.2 การจัดทำรายงานสถานการณ์ในประเด็นยุทธศาสตร์ ตามแผนพัฒนาจังหวัด/นโยบายจังหวัด 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติ และสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด 2.4 สรุป Product Champion ตามประเด็นยุทธศาสตร์และนโยบายจังหวัด ตามแนวทางการพัฒนาข้อมูลบนแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา 3.1 ร่างผังสถิติทางการของการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม 3.2 ร่างแผนพัฒนาสถิติระดับจังหวัด 3.3 แนวทางการดำเนินงานต่อไป ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.2 การจัดทำรายงานสถานการณ์ในประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด/นโยบายจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์
“ข้าวหอมมะลิ” ที่มา :สำนักงานเกษตรจังหวัดหนองบัวลำภู หมายเหตุ :ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศไทย ปี 2557 ไร่ละ 442 กิโลกรัม สรุปบุรีรัมย์ จะต้องทำอย่างไรเพื่อ เพิ่มผลผลิต ให้สูงขึ้น รายงานสถานการณ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด กรณีข้าวหอมมะลิ
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานโครงการ การพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/ 18 กลุ่มจังหวัด บูรณาการข้อมูลสารสนเทศระดับพื้นที่เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สนับสนุนการตัดสินใจเชิงพื้นที่ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านสถิติขององค์กรภาครัฐ ให้มีความเป็นมืออาชีพด้านข้อมูลสถิติและสารสนเทศ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ ร่างแผนพัฒนาสถิติจังหวัด เพื่อการตัดสินใจของประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด ได้แก่ ข้อมูลในการบริหารจัดการ Product Champion ที่ได้รับการเลือก ปัจจัยสู่ความสำเร็จ และตัวชี้วัด (KPI) ฯลฯ ผลผลิตหลักของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/ 18 กลุ่มจังหวัด กรอบแนวคิดการดำเนินงานเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัด / จังหวัด + + = การพัฒนาต่อยอดและขยายชุดข้อมูลเพื่อการตัดสินใจจากประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่ใน 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ชุดข้อมูลที่มีความเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 11 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถิติระดับพื้นที่ 3 ด้าน 21 สาขา แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นที่ ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 11 ได้จัดทำยุทธศาสตร์สำคัญ 6 ประเด็น ซึ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาจังหวัด /กลุ่มจังหวัด ที่กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนานั้น ในกระบวนการจัดทำได้มีการทบทวนและนำแนวทางของแผนฯ 11 และวาระแห่งชาติต่างๆ ใช้ประกอบในการกำหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน โดยมีรายการข้อมูลหรือสถิติทางการที่สำคัญจำเป็นต่อการพัฒนาพื้นที่ 21 สาขา ครอบคลุมเรื่อง เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาข้อมูลให้มีเพียงพอ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยตอบสนองในการจัดทำแผนหรือการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่นั้นๆ ได้
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/ 18 กลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนบน 2 น่าน พะเยา เชียงราย น่าน ภาคเหนือตอนบน 1 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ภาคอีสานตอนบน 1 อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู บึงกาฬ ภาคเหนือตอนล่าง 1 พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ภาคอีสานตอนบน 2 สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ภาคเหนือตอนล่าง 2 กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ภาคอีสานตอนกลาง ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ในระยะที่ผ่านมา สำนักงานสถิติ แห่งชาติได้ดำเนินการพัฒนาระบบสถิติเชิงพื้นที่ รองรับการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญในการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11(ปี 2555 – 2559) สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของกลุ่มจังหวัด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 2 ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ภาคอีสานตอนล่าง 2 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ ภาคกลางตอนล่าง 1 กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ภาคอีสานตอนล่าง 1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ภาคกลางตอนล่าง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก สมุทรปราการ ภาคกลางตอนล่าง 2 สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 2555 2556 2557 ภาคตะวันออก ชลบุรี ระยอง จันทยุรี ตราด ภาคกลางตอนบน 1 อยุธยา สระบุรี ปทุมธานี นนทบุรี นำร่อง 10 จังหวัด นำร่อง 2 กลุ่มจังหวัด พัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด / 18 กลุ่มจังหวัด ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง ภาคใต้ฝั่งอันดามัน พังงา ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง ภาคใต้ชายแดน สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
“ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์ที่จังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การกำกับราชการแบบบูรณาการ(Strategic Integrated Command) การสื่อสารความร่วมมือ ทางยุทธศาสตร์ (Strategic Communication) การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) • การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาของจังหวัด เพื่อกำหนดเลือก Product Champion และCritical Issue • เครื่องมือในการกำหนดโครงการสำคัญ (Flagship Project) ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัด SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects BCG
“ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์ที่จังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การสื่อสารความร่วมมือ ทางยุทธศาสตร์ (Strategic Communication) การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) การกำกับราชการแบบบูรณาการ(Strategic Integrated Command) • การบริหารโครงการ แผนงานและงบประมาณที่มีความสัมพันธ์กัน (โดยใช้แนวคิด Value Chain) • การตรวจสอบ และติดตาม • การประเมินผลที่ใช้ CSF – KPI ใน Value Chain ประเมินผลทั้งระดับโครงการและแผนงาน (Output by PC / CI : Area) SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects Project Management based on VC Provincial Statistics & Database BCG Budgeting Monitoring Evaluating
“ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์ที่จังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) การกำกับราชการแบบบูรณาการ (Strategic Integrated Command) การสื่อสารความร่วมมือทางยุทธศาสตร์(Strategic Communication) • รายงานสถานการณ์ทางยุทธศาสตร์ (ประเด็นการพัฒนา หรือ Product Champion) • Business Intelligence / Dashboard / PMOC SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects Project Management Base On VC Provincial Statistics & Database Provincial Strategic Reports Business Intelligence Strategic Dashboard BCG Budgeting Monitoring Evaluating
“ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์ที่จังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) การกำกับราชการแบบบูรณาการ (Strategic Integrated Command) การสื่อสารความร่วมมือทางยุทธศาสตร์(Strategic Communication) SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects Project Management Base On VC Provincial Statistics & Database Provincial Strategic Reports Business Intelligence Strategic Dashboard BCG Budgeting Monitoring Evaluating
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.4 สรุป Product Champion ตามประเด็นยุทธศาสตร์ และนโยบายจังหวัดตามแนวทางการพัฒนาข้อมูลบน แนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2558 - 2561 วิสัยทัศน์ : “ศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม เศรษฐกิจมั่นคง สังคมเป็นสุข” ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาเป็นศูนย์กลาง การท่องเที่ยว อารยธรรมขอม พัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย พัฒนาไหมพื้นบ้าน สู่สากล พัฒนาคุณภาพชีวิต อนุรักษ์ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาการบริการภาครัฐและเอกชน เป้าประสงค์ สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเพิ่ม ขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยว สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเพิ่ม ขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้านการเกษตรปลอดภัย สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้น เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้านผลิตภัณฑ์ไหม พัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน รักษา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างความพึงพอใจและตอบสนองต่อข้อร้องเรียนของประชาชน
สรุปผลการวิเคราะห์ศักยภาพและตำแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด (2558-2561)ของจังหวัดบุรีรัมย์ ที่มา : แผนพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์(2558-2561)
บุรีรัมย์ จากประเด็นยุทธศาสตร์ สู่การกำหนด Product Champion และ Critical Issue
บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวและการค้าชายแดน กลยุทธ์ 1.พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวและโครงข่ายคมนาคม 2. พัฒนาตลาดท่องเที่ยวเชิงรุก เชื่อมโยงอารยธรรมขอม และสินค้า OTOP 3. พัฒนาบุคลากรและระบบบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว 4. พัฒนาการค้าชายแดน
บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม
วงแหวนการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมวงแหวนการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม นครราชสีมา 105 กม. 455 กม. กรุงเทพมหานคร
จำนวนผู้เยี่ยมเยือน (นักท่องเที่ยวและนักทัศนาจร) ที่เดินทางมายังจังหวัดบุรีรัมย์ระหว่างปี 2552 - 2555 บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ที่มา : กรมการท่องเที่ยว
บุรีรัมย์ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ประเด็นยุทธศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม วางยุทธศาสตร์ / แผนการท่องเที่ยว พัฒนาระบบบริหารจัดการ การท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้านท่องเที่ยว /ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว พัฒนาการตลาด และประชาสัมพันธ์ • บริหารจัดการฐานข้อมูลวัฒนธรรมท้องถิ่นและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ / ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้าน การท่องเที่ยว • ส่งเสริมการรวมกลุ่ม/เครือข่ายผู้ประกอบการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • ฟื้นฟู /ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่ • การจัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เพื่อการ ท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ป้ายบอกทาง • การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ • พัฒนาและเปิดจุดผ่านแดน • อนุรักษ์และนำเสนอกิจกรรมท่องเที่ยวอารยธรรมขอมที่เป็น อัตลักษณ์ของบุรีรัมย์ • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ห้องน้ำและน้ำดื่มสาธารณะ • พัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยง อารยธรรมขอมแบบ Cross Border เพื่อรองรับ AEC • ส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจที่พัก Guest- house/ Home stay และโรงแรมได้รับการรับรองมาตรฐาน • ส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมได้รับการรับรองมาตรฐาน • พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึกที่เป็นอัตลักษณ์ของบุรีรัมย์ • การทำการตลาดกลุ่มนัก ท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network) • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (StrategicPositioning) สำหรับการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (CarryingCapacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน
บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตรปลอดภัยเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์ 1.ส่งเสริมการจัดทำ Zoning การผลิตสินค้าเกษตร 2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร 3. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูป การตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย 4. พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพแรงงานภาคเกษตร กลุ่มอาชีพ และวิสาหกิจชุมชน
บุรีรัมย์ จำนวนพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2554/55 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตรปลอดภัยเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ ผลการวิเคราะห์ BCG
บุรีรัมย์ ผลผลิตข้าวนาปีต่อพื้นที่เพาะปลูก (กิโลกรัม) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตรปลอดภัยเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
บุรีรัมย์ ข้าวหอมมะลิปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย การวิจัยและพัฒนา(R&D)และโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนา เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน • การส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัย • สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง • เกษตรกรมีแผนการผลิต และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม(Crop Zoning and planning) • เกษตรกรมีความสามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวปลอดภัยให้เกิดประโยชน์ • ส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยทั้งกระบวนการ • มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัย • โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวหอมมะลิปลอดภัย • ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวหอมมะลิปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว • ผลผลิตข้าวสารหอมมะลิปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP/ GMP/ HACCP • เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวหอมมะลิปลอดภัย • การแปรรูปสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น(Value Creation) • ส่งเสริมศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยในระดับจังหวัดและระดับกลุ่มจังหวัด • การใช้ระบบการขนส่งข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่เหมาะสมมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตั้งแต่แหล่งผลิตไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บสินค้าจนถึงตลาด • มีระบบตลาดกลางสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน • มีระบบตลาดซื้อขายข้าวหอมมะลิปลอดภัยล่วงหน้า • มีการประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว • การจัดการข้อมูลการตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมีประสิทธิภาพ • พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางการตลาด • มีตราสัญลักษณ์บรรจุภัณฑ์ข้าวหอมมะลิปลอดภัยเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด • วิจัยความต้องการข้าว หอมมะลิปลอดภัยของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ • มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดีและทนต่อโรค • พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว • การพัฒนา ดัดแปลงและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการผลิตข้าวหอมมะลิทั้งกระบวนการ
บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล กลยุทธ์ 1.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิตไหมปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ไหมปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ไหมสู่สากล 4. จัดระบบการบริหารจัดการพัฒนาหม่อนไหมเชิงพาณิชย์
จำนวนพื้นที่เพาะปลูกหม่อนไหมจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกตามอำเภอ ปี 2556 บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล ประมาณการการจัดเก็บรายได้จากการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ OTOP ของจังหวัดบุรีรัมย์ ปีงบประมาณ 2556 ที่มา : ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์
บุรีรัมย์ พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล การวิจัยและพัฒนา(R&D) การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ พัฒนาระบบการตลาด การสนับสนุน ปัจจัยแวดล้อม ที่เอื้อต่อการผลิต การเพิ่มขีดความสามารถ ผปก. และฝีมือแรงงาน การขนส่งสินค้า และจัดการบริหาร สินค้า (Logistics • พัฒนาฐานข้อมูลการผลิตและการบริโภค • พัฒนาฐานข้อมูลตลาดและปริมาณการส่งออก • เงินลงทุนและการเข้าถึงแหล่งเงินทุน • การพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกหม่อน แหล่งน้ำและระบบชลประทาน • การบริหารจัดการแหล่งวัตถุดิบ • การพัฒนาและควบคุมมาตรฐานกระบวนการผลิต • สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญการเป็นพี่เลี้ยงถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีการผลิตให้กับเกษตรกร • การลดอัตราการสูญเสียในระบบผลิต • การใช้เทคโนโลยีและภูมิปัญญาสร้างมูลค่า • การผลิตที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม (Green Production) • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีรูปแบบที่หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการผู้บริโภค • การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ • การสร้างตราสินค้าและตรารับรองคุณภาพ (Quality Mark) • การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า • การพัฒนาประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า • การประชาสัมพันธ์สินค้าผลิตภัณฑ์ไหมเพื่อขยายช่องทางการตลาดทั้งตลาดภายใน และต่างประเทศ • การทำการตลาดผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ • การวิจัยและพัฒนา (R&D) เทคโนโลยีในการผลิตสินค้า • การออกแบบผลิตภัณฑ์ (เชื่อมโยงนักออบแบบอุตสาหกรรมเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรม) • การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตร/ลิขสิทธิ์) • การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบการ • การเพิ่มศักยภาพในการดำเนินธุรกิจของวิสาหกิจ • การพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ • สร้างมาตรฐานการรับรองฝีมือแรงงาน (Skill Certification) • การส่งเสริม พัฒนาการรวมกลุ่มและเชื่อมโยงอุตสาหกรรม • สร้างและขยายเครือข่ายการผลิต
บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพชีวิต กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. รณรงค์ส่งเสริมแรงงานนอกระบบเข้าสู่ประกันสังคม 3. ส่งเสริมการออมและพัฒนาเครือข่ายชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง 4. พัฒนาสถาบันครอบครัวให้มีความอบอุ่น และห่างไกลยาเสพติด 5. เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
บุรีรัมย์ หลักเกณฑ์การจัดตั้งเทศบาลนคร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพชีวิต
บุรีรัมย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน โดยการยกฐานะจากเทศบาลเมืองบุรีรัมย์เป็นเทศบาลนครบุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกระดับวัย การเฝ้าระวัง/แก้ปัญหา/การจัดการโรคระบาด/ติดต่อ การพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ มีระบบสาธารณูปโภค สร้างความลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ส่งเสริมพัฒนา อาชีพ/การมีงานทำ/รายได้ ยกระดับคุณภาพการศึกษา • ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา • บริหารจัดการฐานข้อมูลด้านการการศึกษาของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ • พัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับในพื้นที่ • สร้างโอกาส/แนวทางในการเข้าสู่การศึกษาในระดับสูง/ช่องทางอาชีพสำหรับเยาวชนที่จะจบการศึกษา • การส่งเสริม ความรู้ทักษะการเลี้ยงดูและสุขอนามัยทารก • การส่งเสริมความรู้ ทักษะกิจกรรมและสุขภาวะที่ดีสำหรับเด็กและเยาวชน • การป้องกันมิให้ประชาชนป่วยเป็นโรคพื้นฐานทั่วไป • การดูแลสุขภาวะและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุ • ดูแลผู้ป่วยให้สามารถเข้าถึงซึ่งบริการสุขภาพได้สะดวก รวดเร็ว • เฝ้าระวังโรคติดต่อในพื้นที่ • การป้องกันโรคติดต่อ • การรับมือ ดูแลรักษา เมื่อมีโรคติดต่อระบาด • การบริหารจัดการเมื่อมีโรคโรคติดต่อระบาด • พัฒนาคุณภาพฝีมือแรงงานในสาขาที่จำเป็น • ให้ความรู้ ทักษะให้ชุมชนมีอาชีพเสริมเพื่อสร้างรายได้ • สร้างอาชีพที่เหมาะสมกับชุมชน • จัดกิจกรรมส่งเสริมการออมในชุมชนและเสริมรายได้แรงงาน • ลดปัญหาการว่างงานในพื้นที่ • พัฒนาอาชีพให้ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสในจังหวัด • การพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ เพื่อให้ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีคุณภาพ • การขยาย/ปรับปรุงระบบน้ำประปา • การขยาย/ปรับปรุงระบบไฟฟ้า • การขยาย/ปรับปรุงระบบอินเตอร์เน็ต • ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน • ลดปัญหาอาชญากรรม • ป้องกัน/ป้องปราบ/ปราบปราบยาเสพติด • การให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและบทบาทในการดูแลรักษาความปลอดภัยชีวิตและทรัพย์สินในชุมชนร่วมกัน • การป้องกัน รับมือ บริหารจัดการด้านภัยพิบัติหรือกรณีฉุกเฉินต่างๆในชุมชน เช่น น้ำท่วม ไฟไหม้ ฯลฯ
บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 อนุรักษ์ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 1. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. พัฒนาการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ 5. การบริหารจัดการขยะ (โดยการคัดแยกและลดปริมาณขยะในระดับชุมชน/พลังงาน)
บุรีรัมย์ ศักยภาพและความต้องการใช้ทรัพยากรน้ำในจังหวัดบุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 อนุรักษ์ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บุรีรัมย์ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในเขตเทศบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ อนุรักษ์ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ป้องกันและแก้ปัญหาน้ำเสีย พัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ เพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม และชุมชน จัดระบบบริหารจัดการน้ำ แบบมีส่วนร่วมอย่างบูรณาการ • การจัดการน้ำเสียชุมชน • การจัดการน้ำเสียเกษตร • การจัดการน้ำเสียอุตสาหกรรม • เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนรวมถึงให้ความรู้และความเข้าใจในการจัดการน้ำเสียชุมชน เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม • การบังคับใช้กฎหมายในการปล่อยของเสียและน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด • พัฒนา ปรับปรุงแหล่งเก็บกักน้ำ ระบบระบายน้ำ และผันน้ำ • ปรับปรุงและพัฒนาระบบกระจายน้ำให้กับพื้นที่ที่ยังขาดแคลน • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำเพื่ออุปโภค และบริโภค /เกษตร / อุตสาหกรรม • การพัฒนาเครื่องมือ ตรวจวัดและเตือนภัยคุณภาพน้ำ • การจัดการทรัพยากรน้ำระดับลุ่มน้ำแบบบูรณาการ กับพื้นที่ใกล้เคียง • การป้องกันและจัดการพื้นที่ที่ถูกน้ำกัดเซาะ • สร้างความมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำร่วมกัน
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์
แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด Value Chain (VC) ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/ 18 กลุ่มจังหวัด [วิสัยทัศน์] ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ VC1 VC2 VC3 VC4 เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ 1 เป้าประสงค์ 2 เป้าประสงค์ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (CSF: Critical Success Factors) ประเด็นยุทธฯ 1 ประเด็นยุทธฯ 2 ประเด็นยุทธฯ 3 CSF 1.1 CSF 1.2 … CSF 2.1 CSF 2.2 … CSF 3.1 CSF 3.2 … CSF 4.1 CSF 4.2 … แนวทางการพัฒนาข้อมูลบนแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า 01 02 แผนพัฒนาสถิติจังหวัด/กลุ่มจังหวัด รายงานสถานการณ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ จาก Critical Success Factors สู่การกำหนดตัวชี้วัด (KPI) และชุดข้อมูลสำหรับทุกข้อต่อใน Value Chain [ Data Gap Analysis ]
บุรีรัมย์ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ประเด็นยุทธศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม วางยุทธศาสตร์ / แผนการท่องเที่ยว พัฒนาระบบบริหารจัดการ การท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้านท่องเที่ยว /ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว พัฒนาการตลาด และประชาสัมพันธ์ • บริหารจัดการฐานข้อมูลวัฒนธรรมท้องถิ่นและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ / ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้าน การท่องเที่ยว • ส่งเสริมการรวมกลุ่ม/เครือข่ายผู้ประกอบการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • ฟื้นฟู /ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่ • การจัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เพื่อการ ท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ป้ายบอกทาง • การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ • พัฒนาและเปิดจุดผ่านแดน • อนุรักษ์และนำเสนอกิจกรรมท่องเที่ยวอารยธรรมขอมที่เป็น อัตลักษณ์ของบุรีรัมย์ • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ห้องน้ำและน้ำดื่มสาธารณะ • พัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยง อารยธรรมขอมแบบ Cross Border เพื่อรองรับ AEC • ส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจที่พัก Guest- house/ Home stay และโรงแรมได้รับการรับรองมาตรฐาน • ส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมได้รับการรับรองมาตรฐาน • พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึกที่เป็นอัตลักษณ์ของบุรีรัมย์ • การทำการตลาดกลุ่มนัก ท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network) • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (StrategicPositioning) สำหรับการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (CarryingCapacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม
รายชื่อหน่วยงานหลัก 10 หน่วยงานที่บูรณาการฐานข้อมูล “การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม” สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด บุรีรัมย์ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด สำนักงานชลประธาน สำนักงานป่าไม้จังหวัด สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดบุรีรัมย์ 12% ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม 44% 44% รายการสถิติที่มีการจัดเก็บเป็นปกติ รายการสถิติที่ยังไม่ได้จัดเก็บ รายการสถิติที่ต้องพัฒนาการจัดเก็บ สรุปช่องว่างการพัฒนาการจัดเก็บข้อมูล เพื่อให้มีข้อมูลสนับสนุนการบริหารยุทธศาสตร์
บทสรุป Data Gap และข้อเสนอแนะแนวทางการจัดเก็บข้อมูล
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม (1) พิจารณาเห็นชอบในหลักการ แนวทางการพัฒนาข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) และ ร่างผังสถิติทางการของการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมตามที่เสนอ (2) ขอความเห็นชอบในหลักการให้สำนักงานสถิติจังหวัดจัดทำข้อมูลและร่างผังสถิติทางการของ Product Champion / Critical Issue ของแผนพัฒนาจังหวัด บนแนวทางการพัฒนาข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) ประเด็นพิจารณา
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.2ร่างแผนพัฒนาสถิติระดับจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.2 ร่างแผนพัฒนาสถิติระดับจังหวัด