500 likes | 798 Views
การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ เพื่อการควบคุมกิจการภายใต้พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535. พนิ ตา เจริญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 26 มิถุนายน 2557 ณ จังหวัดชลบุรี. สถานประกอบกิจการ. ทบทวน Checklist. กระบวนการผลิต. มลพิษ. 4. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อม
E N D
การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ เพื่อการควบคุมกิจการภายใต้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พนิตา เจริญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 26 มิถุนายน 2557 ณ จังหวัดชลบุรี
ทบทวน Checklist กระบวนการผลิต มลพิษ 4. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อม 5. สุขอนามัยของผู้ปฎิบัติงาน 6. น้ำดื่ม น้ำใช้ อาหาร 7. สัตว์และแมลงพาหะนำโรค 1. สถานที่ตั้ง 2. สุขลักษณะ/โครงสร้าง 3. เครื่องจักร อุปกรณ์ 8. มลพิษทางอากาศ และเสียง 9. น้ำเสีย มูลฝอย ของเสียอันตรายและสิ่งปฎิกูล 10. การป้องกันเหตุรำคาญ ก่อนเปิด ระหว่างดำเนินการ
การต่อ การประกอบ การเคาะ การปะผุ การพ่นสี การพ่นสารกันสนิมยานยนต์
คำนิยาม : กิจการการต่อ การประกอบ การเคาะ การปะผุ การพ่นสี การพ่นสารกันสนิมยานยนต์ หมายถึง สถานประกอบกิจการที่มีการต่อ การประกอบ การเคาะ การปะผุ การพ่นสี การพ่นสารกันสนิมยานยนต์ทั้งหมด หรือที่มีการดำเนินการเพียงบางส่วน
กระบวนการผลิตของสถานประกอบกิจการการต่อ การประกอบ การเคาะ การปะผุ การพ่นสี การพ่นสารกันสนิมยานยนต์ • การดึงตัวถังรถ ดึงตัวถังรถที่ชำรุดให้กลับมาอยู่ในสภาพเดิม
การลอกสี/การซ่อมสี/การโป๊วสี การลอกสี/การซ่อมสี/การโป๊วสี กำจัดสีรถเก่าที่ชำรุดออก ซึ่งเป็นขั้นตอนเริ่มต้นในการซ่อมสีรถ โดยการขัดผิวชิ้นงานให้เรียบ การเช็ดทำความสะอาดชิ้นงาน การพ่นสีจริง และการเก็บรายละเอียดอื่นๆ เช่น การขัดสีหรือการโป๊วสี
การเช็ดทำความสะอาดชิ้นงาน การเช็ดทำความสะอาดชิ้นงาน ทำความสะอาดชิ้นงานก่อนการพ่นสี โดยการใช้สารเคมีผสมตัวทำละลายที่มีส่วนผสมของสารอินทรีย์ระเหยง่าย • การพ่นสีและการอบสีรถยนต์ รถที่ผ่านการเช็ดทำความสะอาดแล้วจะผ่านกระบวนการพ่นสี
ขัดเคลือบสีเพื่อเพิ่มความเงางาม และความคงทนของสีรถยนต์ • การขัดเคลือบสีรถยนต์ (เคลือบเงา) • การต่อ ประกอบชิ้นส่วน และล้าง อัด ฉีด รถยนต์
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยงแนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง มลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นจากสถานประกอบกิจการเคาะ พ่นสียานยนต์ คือ • มลพิษทางอากาศ ฝุ่นละออง กลิ่น VOCs • มาตรการควบคุมและป้องกันฝุ่นละออง • - ทำงานในห้องที่มีผนังปิดกั้นลมมิดชิด และมีพัดลมดูดอากาศ เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่น (ระบบปิด) • ติดตั้งอุปกรณ์กรองฝุ่น • การควบคุมและป้องกัน VOCs ทำได้ดังนี้ • - ปรับเปลี่ยนวัตถุดิบที่ใช้ โดยใช้สีน้ำหรือสีฝุ่น • -ติดตั้งระบบกำจัด VOCs: ม่านน้ำ ถ่านกำมันต์
น้ำเสียที่เกิดจากสถานประกอบกิจการเคาะ พ่นสี ไม่มีความสกปรกมากนัก มีเพียงเศษสี และอนุภาคของสารอินทรีย์ระเหย สถานประกอบการควรมีการบำบัดน้ำเสียเบื้องต้นก่อนปล่อยทิ้งสู่ท่อระบายน้ำสาธารณะ • มลพิษทางน้ำ ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียที่เหมาะสมสำหรับสถานประกอบกิจการเคาะ พ่นสียานยนต์ โดยทั่วไปมีรูปแบบดังนี้
การตรวจสภาพรถยนต์ การตี การเคาะ เสียง , ขยะ การดึงตัวถังรถยนต์ น้ำ , สารทำความสะอาด การลอกสีเก่า/การซ่อมสี การทำความสะอาด น้ำเสีย,ฝุ่นละออง,เสียง,VOCs พลังงานไฟฟ้า การโป๊วสี กลิ่นเหม็น น้ำ และพลังงานไฟฟ้า การขัดน้ำให้เนียน การขัดน้ำให้เนียน น้ำเสีย , เสียง น้ำเสีย , ฝุ่นละออง , สี , กระดาษเปื้อนสี , VOCs สี , น้ำ และกระดาษ การพ่นสี - การพ่นสีพื้น - การพ่นสีจริง กระบวนการผลิตและปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจการเคาะ พ่นสียานยนต์
พลังงานไฟฟ้า การอบสี ไอสี , VOCs สีเคลือบ การขัดเคลือบสีรถยนต์ (เคลือบเงา) เสียง , VOCs พลังงานไฟฟ้า การต่อ ประกอบชิ้นส่วน เสียง น้ำ การล้าง อัด ฉีด รถยนต์ น้ำเสีย การส่งมอบรถยนต์ กระบวนการผลิตและปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจการเคาะ พ่นสียานยนต์ (ต่อ)
ของเสียอันตราย วิธีการจัดการของเสียอันตราย มีดังต่อไปนี้ 1. การคัดแยกตามลักษณะและคุณสมบัติ โดยการจัดประเภทและแยกของเสียไม่อันตรายออกจากของเสียอันตรายตามลักษณะคุณสมบัติของของเสียแต่ละประเภท 2. การเก็บและสถานที่เก็บ - ภาชนะที่เป็นถัง ที่ทนสภาพกรด-ด่างได้ และมีฝาปิดมิดชิด - สามารถลำเลียงภาชนะด้วยรถยก หรือขนถ่ายด้วยวิธีสูบออก - มีการแยกกากของเสียเป็นส่วนๆในโรงเก็บ - ทำป้ายบอกชื่อตามช่องต่างๆ และป้ายบอกสิ่งห้ามในโรงเก็บ - มีการแยกโรงเก็บสารที่เกิดปฏิกิริยาได้ง่าย สารไวไฟ สารระเบิด - สถานที่เก็บควรมีอุปกรณ์ป้องกันพิษ เครื่องดับเพลิง สัญญาณแจ้งเหตุ 3. การเก็บรวบรวม ต้องคำนึงถึง ประเภทและขนาดของภาชนะรองรับ สถานที่ตั้งภาชนะรองรับ และสภาพน่าดูน่าชมและปัญหาทางด้านสาธารณสุข
ระยะก่อนประกอบการ 2. สุขลักษณะสถานประกอบกิจการ 2.1 กรณีที่สถานประกอบกิจการมีอาคารและอยู่ในพื้นที่ที่ควบคุมโดยกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายนั้น (ตรวจสอบได้จากเอกสาร อ1 ใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร) 2.2 กรณีที่สถานประกอบกิจการอยู่นอกเขตพื้นที่ควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ให้ปฏิบัติ ดังนี้ 1) อาคารประกอบกิจการ ต้องมีความมั่นคงแข็งแรง และประกอบด้วยวัสดุทนไฟเป็นส่วนใหญ่ 2) มีประตู หรือทางเข้า–ออก ที่มีความกว้างเพียงพอกับการเข้า–ออกของยานยนต์ และการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน ให้เป็นไปตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 3) บริเวณผสมสี บริเวณพ่นสี และอบสียานยนต์ ต้องมีการแยกห้องอย่างชัดเจน เป็นห้องปิดมิดชิด และจัดให้มีระบบระบายอากาศ และบำบัดอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ
ระยะประกอบการ 4. การจัดการมลพิษทางอากาศ และมลพิษทางเสียง (ต่อ) มีมาตรการในการควบคุมให้คนงานเปิดระบบระบายอากาศ และระบบบำบัดอากาศขณะปฏิบัติงานทุกครั้ง และให้ติดตั้งมิเตอร์ไฟแยกสำหรับระบบระบายอากาศ และระบบบำบัดอากาศ ทั้งนี้ ห้ามทำการผสมสี พ่นสี และอบสียานยนต์นอกห้องดังกล่าวโดยเด็ดขาด 4.3 ให้ผู้ประกอบกิจการกำหนดให้มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศทั้งภายในสถานประกอบกิจการ และบริเวณโดยรอบ แล้วเสนอข้อมูลต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และจัดทำเป็นสถิติให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นไว้ตรวจสอบ 4.4 กรณีที่ระบบบำบัดอากาศเป็นแบบการใช้วัสดุดูดซับกลิ่น หรือสารอินทรีย์ระเหยง่าย ให้ดำเนินการตรวจตราวัสดุดูดซับกลิ่น หรือวัสดุกรองฝุ่นละอองสีในห้องพ่นสีเป็นประจำ หากพบการอุดตันของวัสดุดูดซับ หรือวัสดุกรองฝุ่นละอองสีให้ทำการเปลี่ยนทันที หรือเปลี่ยนตามกำหนดเวลา พร้อมทั้งให้มีการบันทึกผลการตรวจตราและการเปลี่ยนวัสดุ
การประกอบกิจการ การตาก การสะสมหรือการขนถ่ายมันสำปะหลัง สถานที่ที่ดำเนินการกิจการเกี่ยวกับการตาก รวมถึงการเก็บรักษา และการขนถ่ายมันสำปะหลังของกิจการลานตากมันสำปะหลัง
การตาก การสะสมหรือการขนถ่ายมันสำปะหลัง วัตถุดิบ
ประโยชน์ของมันสัมปะหลังประโยชน์ของมันสัมปะหลัง
กระบวนการผลิต 1. การชั่งน้ำหนัก 2. เทมันสำปะหลัง กองบนพื้น รถบรรทุกหัวมันสำปะหลังเทมันสำปะหลังกองลงบนพื้น เพื่อรอเข้าเครื่องตัดหัวมันสำปะหลังต่อไป
กระบวนการผลิต 3. ตักมันสำปะหลังใส่เครื่องตัดหัวมัน ย่อยขนาดให้เล็กลงแล้วนำไปตากให้แห้ง
กระบวนการผลิต 4. เทมันสำปะหลังบริเวณลานตาก ทำการเทมันสำปะหลังบริเวณลานตากที่ จัดเตรียมไว้ให้แล้วทำการเกลี่ยให้ทั่วบริเวณลานตาก 5. การตากสำปะหลัง ตากมันสำปะหลังทิ้งไว้ประมาณ 3 วัน ใช้รถเกลี่ยมันสำปะหลังโดยรอบบริเวณลากตากเพื่อทำให้มันสำปะหลังแห้ง
กระบวนการผลิต 6. การเก็บสำปะหลัง ใช้รถดูดสุญญากาศ และอุปกรณ์ ในการเก็บมันสำปะหลังที่แห้งแล้ว 7. คลังเก็บสำปะหลัง เก็บเข้าคลังเก็บรักษามันสำปะหลัง คลุมด้วยผ้าใบ หรือบรรจุ เพื่อรอการแปรรูปผลิตภัณฑ์ และรอการจำหน่าย
ปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ปัญหากลิ่นเหม็น ขั้นตอนการตากทิ้งไว้ เกลี่ยเพื่อทำให้แห้ง การหมักหมมของมันสำปะหลังที่มีความชื้นสัมพัทธ์สูง ๆ หรือฝนตก จะทำให้กลิ่นเหม็นของมันสำปะหลังมากขึ้น ปัญหาฝุ่นละออง การเทมันสำปะหลังตาก การเก็บเข้าคลังเก็บรักษาสินค้า ปัญหาเสียงดัง เกิดจากขั้นตอนการเท การตัก และการตัดหัวมันสำปะหลังเพื่อย่อยขนาด ให้เล็กลง
แนวทางการควบคุมปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมแนวทางการควบคุมปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม • กลิ่นเหม็น • ฝุ่นละออง • เสียงดัง
ระยะประกอบการ (ต่อ) 4. การจัดการมลพิษทางอากาศ และมลพิษทางเสียง (ต่อ) 4.5 มีการจัดการไม่ให้มีกลิ่นเหม็นจากมันสำปะหลัง เช่น ไม่ปล่อยให้มีการสะสมของเศษมันสำปะหลังที่ได้รับความเสียหายจากความชื้น เป็นต้น 5. การจัดการน้ำเสีย มูลฝอย ของเสียอันตราย และสิ่งปฏิกูล 5.1 มีการบำบัดหรือการปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียจากการประกอบกิจการก่อนระบายสู่แหล่งน้ำสาธารณะ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กรณีที่เข้าข่ายโรงงาน ค่า BOD ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร และ ค่า COD ไม่เกิน 120 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นต้น) และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และต้องดูแลทางระบายน้ำไม่ให้อุดตัน
ระยะประกอบการ (ต่อ) 5. การจัดการน้ำเสีย มูลฝอย ของเสียอันตราย และสิ่งปฏิกูล (ต่อ) 5.2 จัดให้มีภาชนะรองรับที่เหมาะสมและเพียงพอกับปริมาณและประเภทมูลฝอย มีการทำความสะอาดภาชนะรองรับ และบริเวณที่เก็บภาชนะนั้นอยู่เสมอรวมทั้งมีการรวบรวมและกำจัดมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ 5.3มีการจัดการน้ำฝนที่ไหลออกนอกลานตากมันสำปะหลังที่มีประสิทธิภาพสามารถป้องกันไม่ให้น้ำชะล้างลานตากมันไหลออกนอกสถานประกอบกิจการเช่น มีรางระบายน้ำฝนรอบสถานประกอบกิจการ เพื่อรวบรวมลงสู่บ่อบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น 5.4 มีการจัดการของเสียอันตราย หรือสิ่งอื่นใดที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือ มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพกิจการเลี้ยงไก่การควบคุมการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพกิจการเลี้ยงไก่
คำนิยาม หมายถึง สถานประกอบกิจการเลี้ยงไก่ประเภทไก่เนื้อและไก่ไข่ โดยหมายรวมถึงสถานประกอบกิจการเลี้ยงไก่ทุกขนาด
สถานการณ์กิจการเลี้ยงไก่สถานการณ์กิจการเลี้ยงไก่ การประกอบกิจการเลี้ยงไก่ กรมปศุสัตว์รายงานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ รายเขตปศุสัตว์และรายภาค ปี ๒๕๕๕ ว่ามีเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ จำนวน ๒,๘๘๑,๖๑๒ ครัวเรือน โดยส่วนใหญ่กิจการมักตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กระบวนการเลี้ยงไก่ เตรียมโรงเรือน ขนส่งไก่เข้าฟาร์ม ระบบฆ่าเชื้อก่อนเข้าฟาร์ม/โรงเรือน โรงเรือนไก่เนื้อ (ขังรวม) โรงเรือนไก่ไข่ (กรงตับ) (42 วัน) (56 สัปดาห์) ขนส่งไก่ออกฟาร์ม ระบบฆ่าเชื้อก่อนออกฟาร์ม/โรงเรือน โรงเก็บมูลไก่ พักโรงเรือน กำจัดซากไก่
กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่ เตรียมโรงเรือนและอุปกรณ์การเลี้ยงไก่เนื้อ (ขังรวม) อุปกรณ์ให้น้ำ อุปกรณ์ให้อาหาร โรงเรือน วัสดุรองพื้น อุปกรณ์กกลูกไก่
กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่ เตรียมโรงเรือนและอุปกรณ์การเลี้ยงไก่ไข่ (กรงตับ) อุปกรณ์ให้อาหาร-น้ำ อุปกรณ์กกลูกไก่ โรงเรือน
กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่ ขนส่งไก่ เข้า-ออก จากฟาร์ม/โรงเรือน
กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่ ระบบฆ่าเชื้อ ก่อน-ออก จากฟาร์ม/โรงเรือน
กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่กระบวนการของกิจการเลี้ยงไก่ การพักโรงเรือน 2.ทำความสะอาด 1.โกยมูลไก่ 3.พ่นน้ำยาฆ่าเชื้อ 4.พักโรงเรือน
สิ่งคุกคามสุขภาพ ผลกระทบต่อสุขภาพ จุดเสี่ยงกระบวนการเลี้ยงไก่ การเตรียมโรงเรือน สารเคมี , ฝุ่นละออง กลิ่นเหม็น , แมลงวัน มูลและปัสสาวะไก่ ฝุ่นละออง , ไก่ที่ตายแล้ว - โรคระบบทางเดินหายใจ - โรคระบบทางเดินอาหาร - รบกวนวิถีชีวิต- โรคที่มากับสัตว์ปีก- ระคายเคืองผิวหนัง การเลี้ยงไก่ สารเคมี , ฝุ่นละออง น้ำเสีย การพักโรงเรือน กองมูล ลานตากมูล และโรงเก็บมูล กลิ่นเหม็น แมลงวัน ** ในกรณีที่สถานประกอบกิจการมี
ก๊าซที่เกิดขึ้นจากการย่อยสลายมูลไก่ก๊าซที่เกิดขึ้นจากการย่อยสลายมูลไก่ ก๊าซแอมโมเนีย -ระดับความเข้มข้นที่ปลอดภัยต่อมนุษย์คือ 2-10 ส่วนในล้านส่วน (ppm) -ได้กลิ่นที่ 20 ppm และระคายเคืองตา จมูก 50-100 ppm -ระคายเคืองระบบทางเดินหายใจไก่ ที่ระดับแอมโมเนีย 20ppm ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์(ก๊าซไข่เน่า) เป็นก๊าซที่มีกลิ่นเหม็นรุนแรงถ้าได้รับนานๆประสาทรับกลิ่นจะชา ที่มา www.nfi.or.th
แนวทางการจัดการความเสี่ยงแนวทางการจัดการความเสี่ยง สถานที่ตั้ง การกำหนดระยะห่างของสถานประกอบกิจการก่อนดำเนินการ น้อยกว่า 500 ตัว ควรมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 30 เมตร ตั้งแต่ 500 - 5000 ตัว ควรมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 100 เมตร ตั้งแต่ 5001 – 10000 ตัว ควรมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 200 เมตร เกินกว่า 10000 ตัว ควรมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 1000 เมตร
แนวทางการจัดการความเสี่ยงแนวทางการจัดการความเสี่ยง ฝุ่นละออง ไก่ที่ตายแล้ว การฝังในหลุมลึก พัดลมระบายอากาศ ควบคุมการฟุ้งกระจาย ของอาหารไก่ การเผา
แนวทางการจัดการความเสี่ยงแนวทางการจัดการความเสี่ยง กลิ่น กลิ่น Wind break ม่านกระจายน้ำ ไบโอฟิลเตอร์ ทำความสะอาด เป็นประจำ
แนวทางการจัดการความเสี่ยงแนวทางการจัดการความเสี่ยง วัสดุรองพื้น+มูลไก่ แมลงวัน ทำลายตัวอ่อนแมลงวัน ใช้แสงแดด ทำปุ๋ย ใช้สารเคมี
แนวทางการจัดการความเสี่ยงแนวทางการจัดการความเสี่ยง น้ำเสีย สารเคมี มีระบบการจัดการน้ำเสียที่เหมาะสมเช่นบ่อเกรอะ บ่อซึม พาหะนำโรค อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล จัดให้มีห้องหรือตู้เก็บสารเคมี
มาตรการในการควบคุมกิจการเลี้ยงไก่ ระยะประกอบการ (ต่อ)
มาตรการในการควบคุมกิจการเลี้ยงไก่ ระยะประกอบการ (ต่อ)
มาตรการในการควบคุมกิจการเลี้ยงไก่ ระยะประกอบการ (ต่อ)
มาตรการในการควบคุมกิจการเลี้ยงไก่ ระยะประกอบการ (ต่อ)
ขอขอบคุณ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทรศัพท์ 02 590 4190 โทรสาร 02 590 4356
กิจกรรมกลุ่ม • คัดเลือกประธาน เลขา และผู้นำเสนอ • เวลาทำกิจกรรม 30 นาที • เวลานำเสนอกลุ่มละ 5 นาที • ประเด็นคำถาม • ระบุกิจกรรมในระยะก่อสร้าง และดำเนินการ • ระบุมลพิษ/สิ่งคุกคามสุขภาพในแต่ละกิจกรรม • ระบุมาตรการป้องกันและลดผลกระทบจากแต่ละกิจกรรม
วิทยากรกลุ่ม • กลุ่มที่ 1 • นายวิรุจน์นนสุรัตน์ • กลุ่มที่ 2 การตาก สะสม ขนถ่ายมันสัมปะหลัง • นายสุธีร์ สุนิตย์สกุล • กลุ่มที่ 3 การต่อ การประกอบ การเคาะ การปะผุ การพ่นสี • นางสาวสุภาพร อานมณี