110 likes | 298 Views
กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546). ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพารา และรักษาเสถียรภาพราคายาง - แทรกแทรงราคายาง ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร , องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคมยางพาราไทย,กรมส่งเสริม ( เกษตร ), สหกรณ์,กระทรวงการต่างประเทศ
E N D
กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546) ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพาราและรักษาเสถียรภาพราคายาง - แทรกแทรงราคายาง ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคมยางพาราไทย,กรมส่งเสริม(เกษตร), สหกรณ์,กระทรวงการต่างประเทศ 2. พัฒนาตลาดส่งออก ผู้รับผิดชอบ - กรมการค้าต่างประเทศ,กรมส่งเสริมการส่งออก,สมาคมยางพาราไทย, สมาคมน้ำยางข้นไทย 3. สนับสนุนการพัฒนาการส่งออก ผู้รับผิดชอบ –กรมวิชาการเกษตร, กรมศุลกากร, องค์การยาง,กรมการค้าต่างประเทศ,การท่าเรือแห่งประเทศไทย, สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ ด้านการบริหารงานภาคยาง - ตั้งคณะกรรมการยางแห่งประเทศไทย (กระทรวงเกษตรฯตั้งคณะกรรมการเพื่อให้การดำเนินงานภาครัฐเป็นไปตามยุทธศาตร์ครบวงจร) - ตั้งองค์การยาง( กระทรวงเกษตรฯตั้งองค์การยางโดยรวมอสย.และสกย. เพื่อสนับสนุนเกษตรกร ผู้รับผิดชอบ – กระทรวงเกษตรฯ, หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง - สนับสนุนร่วมมือกับอก. ตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ – อก. -ตั้งกองทุนพัฒนายางและผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ - หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง
กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การกรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การ พัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546)
ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพาราและรักษาเสถียรภาพราคายาง- แทรกแทรงราคายางผู้รับผิดชอบ-กรมวิชาการเกษตร, องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคมยางพาราไทย,กรมส่งเสริม(เกษตร),สหกรณ์,กระทรวงการต่างประเทศ 2. พัฒนาตลาดส่งออกผู้รับผิดชอบ - กรมการค้าต่างประเทศ,กรมส่งเสริมการส่งออก,สมาคมยางพาราไทย, สมาคมน้ำยางข้นไทย
ด้านตลาดยาง 3. สนับสนุนการพัฒนาการส่งออก ผู้รับผิดชอบ –กรมวิชาการเกษตร, กรมศุลกากร, องค์การยาง,กรมการค้าต่างประเทศ,การท่าเรือแห่งประเทศไทย, สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ
ด้านการบริหารงานภาคยางด้านการบริหารงานภาคยาง • ตั้งคณะกรรมการยางแห่งประเทศไทย(กระทรวงเกษตรฯตั้งคณะกรรมการเพื่อให้การดำเนินงานภาครัฐเป็นไปตามยุทธศาตร์ครบวงจร) • ตั้งองค์การยาง( กระทรวงเกษตรฯตั้งองค์การยางโดยรวมอสย.และสกย. เพื่อสนับสนุนเกษตรกรผู้รับผิดชอบ – กระทรวงเกษตรฯ, หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง
ด้านการบริหารงานภาคยางด้านการบริหารงานภาคยาง • สนับสนุนร่วมมือกับอก. ตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง • ผู้รับผิดชอบ – อก • ตั้งกองทุนพัฒนายางและผลิตภัณฑ์ยางผู้รับผิดชอบ - หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง
1. แผนงานเร่งด่วนดำเนินการภายในปี 2543 - โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการทดสอบผลิตภัณฑ์ยางระยะเวลา 2 ปีเพื่อทดสอบตามมาตรฐาน EU และสหรัฐอเมริกา(กรมวิชาการเกษตรและสภอท.) 2. แผนการวิจัยและการพัฒนาระดับชาติ - โครงการพัฒนาการผลิตถุงมือยางโปรตีนต่ำระยะเวลา 3 ปี (กรมวิชาการเกษตรกับ กระทรวงวิทย์ฯอก. และสภอท.) - โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตและคุณภาพยางแท่งระยะเวลา 3 ปี ( กรมวิชาการเกษตรกับกรม ส่งเสริมสหกรณ์, สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง, ทบวงมหาวิทยาลัย,สมาคมยางพาราไทย และสถาบันเกษตร) 3. แผนการสนับสนุน - โครงการจัดตั้งศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรมยางระยะเวลา 3 ปี (กระทรวงวิทย์ฯ) - โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมยางที่องค์กรสวนยางจ.นครศรีธรรมราชระยะเวลา 5 ปี (องค์การ สวนยาง,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และนิคมอุตสาหกรรมฯ) 4.แผนการสนับสนุนการใช้ยางของภาครัฐระยะเวลา 3 ปี( สมอ.,กรมวิชาการเกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาอุตสาหกรรมฯ) ปี 2544-2546 งบประมาณ 20 ล้านบาทแหล่งเงินแผนปรับโครงสร้างกระทรวงอุตสาหกรรมสนับสนุนผลิตภัณฑ์ยางที่ผลิตได้ในประเทศเช่นยางธรรมชาติผสมยางมะตอยลาดถนน, ยางรองคอสะพาน, ยางกันชนหรือยางกันกระแทกเขื่อน/ฝาย, ยางกันซึม ,แผ่นยางปูอ่างเก็บน้ำ, รอยต่อสะพาน, ยางคั่นรอยต่อคอนกรีต, ลู่วิ่ง ,ยางปูพื้น,พรมยางปูพื้น,และถุงมือยาง แผนงานเร่งด่วนของกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรม
แผนงานเร่งด่วนของกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมแผนงานเร่งด่วนของกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรม
1. แผนงานเร่งด่วนดำเนินการภายในปี2543 -โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการทดสอบผลิตภัณฑ์ยางระยะเวลา 2 เพื่อทดสอบตามมาตรฐานEUและสหรัฐอเมริกา(กรมวิชาการเกษตรและสภอท.) 2. แผนการวิจัยและการพัฒนาระดับชาติ - โครงการพัฒนาการผลิตถุงมือยางโปรตีนต่ำระยะเวลา 3 ปี (กรมวิชาการเกษตรกับกระทรวงวิทย์ฯอก. และสภอท.) - โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตและคุณภาพยางแท่งระยะเวลา 3 ปี(กรมวิชาการเกษตรกับกรมส่งเสริมสหกรณ์, สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง, ทบวงมหาวิทยาลัย,สมาคมยางพาราไทยและสถาบันเกษตร)
3. แผนการสนับสนุน - โครงการจัดตั้งศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรมยางระยะเวลา 3 ปี (กระทรวงวิทย์ฯ) -โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมยางที่องค์กรสวนยางจ.นครศรีธรรมราชระยะเวลา 5 ปี (องค์การสวนยาง,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และนิคมอุตสาหกรรมฯ) 4. แผนการสนับสนุนการใช้ยางของภาครัฐระยะเวลา 3 ปี ( สมอ.,กรมวิชา เกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาอุตสาหกรรมฯ) ปี2544-254งบประมาณ20 ล้านบาทแหล่งเงินแผนปรับโครงสร้างกระทรวงอุตสาหกรรมสนับสนุนผลิตภัณฑ์ยางที่ผลิตได้ในประเทศเช่นยางธรรมชาติผสมยางมะตอยลาดถนน, ยางรองคอสะพาน, ยางกันชนหรือยางกันกระแทกเขื่อน/ฝาย, ยางกันซึม ,แผ่นยางปูอ่างเก็บน้ำ, รอยต่อสะพาน, ยางคั่นรอยต่อคอนกรีต, ลู่วิ่ง ,ยางปูพื้น,พรมยางปูพื้น,และถุงมือยาง