540 likes | 714 Views
การประกวดสถานศึกษาร่วมใจ สร้างวัฒนธรรม ความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 2556. การประกวดสถานศึกษาร่วมใจ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 2556. • กรมการขนส่งทางบกได้ลงนามบันทึกความความร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเมื่อ 26 พ.ย.55 ได้แจ้งให้ทุกจังหวัดทราบแล้ว.
E N D
การประกวดสถานศึกษาร่วมใจ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 2556
การประกวดสถานศึกษาร่วมใจ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 2556 • กรมการขนส่งทางบกได้ลงนามบันทึกความความร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเมื่อ 26 พ.ย.55 ได้แจ้งให้ทุกจังหวัดทราบแล้ว
การประกวดสถานศึกษาร่วมใจ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 2556 • วัตถุประสงค์ : เพื่อยกระดับมาตรฐานด้านความปลอดภัย ในการใช้รถใช้ถนนของนักเรียนในสถานศึกษาให้เกิดเป็นวัฒนธรรมความปลอดภัย
สาระสำคัญของ MOU สาระสำคัญของ MOU : คือให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการคัดเลือก สถานศึกษาออกเป็น 3 ระดับ คือ 1.) ระดับเขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการโดย สพฐ.คัดเลือกจากโรงเรียนมัธยมทั้งหมด 9,600 แห่ง ให้เหลือ 3,200 แห่ง โรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกจะได้เงินสนับสนุนแห่งละ 3,000 บาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดทำผลงานและนวัตกรรมด้านความปลอดภัยส่งให้ สขจ. ภายในวันที่ 21 ม.ค. 56 (ในการคัดเลือกอยู่ในดุลยพินิจของ สพฐ.)
สาระสำคัญของ MOU สาระสำคัญของ MOU : คือให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการคัดเลือก สถานศึกษาออกเป็น 3 ระดับ คือ 2) ระดับจังหวัด โดยมี ผสพ.5 / ขสจ. เป็นประธานคัดเลือกโดยพิจารณาจากการประเมินตามแบบประเมินที่กำหนดให้โดยจัดประชุมแล้วจะประเมินจากเอกสารประเมินจากเอกสารผลงานและนวัตกรรมด้านความปลอดภัยที่สถานศึกษาส่งมาให้คัดเลือกให้เหลือรวมกันทั่วประเทศ 320 แห่ง แต่ละจังหวัดจะคัดให้เหลือกี่แห่งนั้นได้แจ้งไปแล้ว ทั้งนี้ต้องแจ้งรายชื่อสถานศึกษาให้สนภ.ทราบภายใน 1 ก.พ. 56
สาระสำคัญของ MOU สาระสำคัญของ MOU : คือให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการคัดเลือก สถานศึกษาออกเป็น 3 ระดับ คือ 3) ระดับภาค โดยมีผู้ตรวจราชการรับผิดชอบ 1 ท่านต่อ2 เขตตรวจราชการ ก็จะมีคณะกรรมการฯส่วนกลางออกไปประชุมในจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางของเขตตรวจราชการ เรียนเชิญ ขสจ. หรือตัวแทนของสถานศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกในระดับจังหวัดเข้ามา Present ผลงาน และนวัตกรรม
สาระสำคัญของ MOU สาระสำคัญของ MOU : คือให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการคัดเลือก สถานศึกษาออกเป็น 3 ระดับ คือ การตัดสินของคณะกรรมการจะพิจารณาจากคะแนนการประเมินผลงานและนวัตกรรมรวมทั้งพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนของนักเรียนซึ่งมีคะแนนเต็ม 500 คะแนน ทั้งนี้ คณะกรรมการจะต้องคัดเลือกให้เหลือ 160 แห่ง และแจ้งให้กรมการขนส่งทางบกทราบภายใน วันที่ 28 ก.พ. 2556
ในเดือน มี.ค. 56 อขบ. ก็จะออกเดินทางไปมอบรางวัล ทั้ง 4 ภาค ให้กับสถานศึกษา 160 แห่ง ที่ชนะการประกวด
กรมการขนส่งทางบก ได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนี้ 1. จัดทำคู่มือการประกวดฯ 5,000 เล่ม แจกจ่ายให้เขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่ง สขจ. ทุกแห่งแล้ว และได้ลง เว็บไซต์ ของกรมการขนส่งทางบก (http : //apps.dlt.go.th/media_subเลือกคู่มือการประกวดฯ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กรมการขนส่งทางบก ได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนี้ 2. จัดทำ CD จำนวน 10,000 แผ่น แนะนำการประกวด
กรมการขนส่งทางบก ได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนี้ 3. ได้จัดทำคู่มือการประเมินของคณะกรรมการจัดให้ สพฐ.เพื่อแจ้งสถานศึกษาทุกแห่ง จัดส่งให้ สขจ. ทุกจังหวัด ใส่ไว้ในเว็บไซต์ของกรมการขนส่งทางบก(http : //apps.dlt.go.th/media_subเลือกคู่มือการประกวดฯ และสพฐ.
กรมการขนส่งทางบก ได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนี้ 4. ได้นำเอกสารผลงานของสถานศึกษาที่ชนะกาดรประกวด ใน ปี 2555 ใส่ไว้ในเว็บไซต์ของ กรมการขนส่งทางบกและ สพฐ. เพื่อให้สถานศึกษาได้ดูเป็นตัวอย่างในการวัดผล
กรมการขนส่งทางบก ได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนี้ 5. ได้แจ้งสำนวนสถานศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ในระดับจังหวัดให้หน่วยงานของ สพฐ. และ สขจ.ทราบแล้ว
การดำเนินการตามแนวทาง 5 เสาหลัก แห่งความปลอดภัยขององค์การสหประชาชาติ ได้แก่ เสาหลักที่ 1 การบริหารจัดการความปลอดภัยทางถนน (100 คะแนน) เสาหลักที่ 2 ถนนและการสัญจรอย่างปลอดภัย (100 คะแนน) เสาหลักที่ 3 ยานพาหนะที่ปลอดภัย (50 คะแนน) เสาหลักที่ 4 นักเรียนมีพฤติกรรมในการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย (200 คะแนน) เสาหลักที่ 5 การตอบสนองหลังเกิดเหตุ (50 คะแนน)
เสาหลักที่ 1 เสาหลักที่ 1 การบริหารจัดการความปลอดภัยทางถนน (100 คะแนน) แนวคิด การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางถนนที่มีแผนงานอย่างเป็นระบบ บนพื้นฐานข้อมูลที่มีอยู่และมีแนวทาง การดำเนินงานแบบยั่งยืน
เสาหลักที่ 1 1.1 กำหนดหน่วยงานหลักพร้อมกับประสานงานเครือข่ายนักเรียนเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม (30 คะแนน) กิจกรรม กำหนดโครงสร้างหน่วยงานหลักและกลุ่ม ประสานงานในระดับปฏิบัติการรวมถึงการจัดตั้งชมรมความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนขึ้นในสถานศึกษา
เสาหลักที่ 1 รายละเอียดการตรวจประเมิน (1) มีการแต่งตั้งคณะทำงานของนักเรียน/คณะกรรมการนักเรียน/ชมรมภายในสถานศึกษาที่รับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน (15 คะแนน)
เสาหลักที่ 1 (2) มีภาคีเครือข่ายภายในหรือภายนอกสถานศึกษา (15 คะแนน)
เสาหลักที่ 1 1.2 การดำเนินงานลดอุบัติเหตุในสถานศึกษา (45 คะแนน) กิจกรรม จัดทำแผนการป้องกันและลดอุบัติเหตุในสถานศึกษา และดำเนินการตามแผนฯ มีการติดตามผลการ ดำเนินงาน และเก็บข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุอย่างสม่ำเสมอ (1) มีการจัดทำแผนการป้องกันและลดอุบัติเหตุในสถานศึกษา (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 1 (2) มีการดำเนินการตามแผนฯ (15 คะแนน)
เสาหลักที่ 1 (3) มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไข (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 1 (4) มีการเก็บข้อสถิติการเกิดอุบัติเหตุที่กับนักเรียนของสถานศึกษาอย่างสม่ำเสมอ (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 1 1.3 การวางเป้าหมายระยะยาวในอนาคต (25 คะแนน) กิจกรรม มีการวางแผนงานเพื่อขยายผลในอนาคตไว้อย่างชัดเจน (1)การส่งเสริมให้มีการใช้ระบบการขนส่งสาธารณะหรือยานพาหนะชนิดอื่นๆ ที่มีความปลอดภัย
เสาหลักที่ 2 เสาหลักที่ 2 ถนนและการสัญจรอย่างปลอดภัย (100 คะแนน) แนวคิด มีการจัดวางผังระบบการจราจรภายในสถานศึกษาให้มีความปลอดภัยสูงสุด
เสาหลักที่ 2 2.1 สภาพถนนมีความปลอดภัยและเหมาะสมกับการใช้งาน (50 คะแนน) กิจกรรม การวางผังถนนและการดูแลบำรุงรักษาสภาพถนนภายในสถานศึกษาให้มีความปลอดภัยอยู่เสนอ (1) วางผังถนนภายในสถานศึกษาที่ปลอดภัย (30 คะแนน)
เสาหลักที่ 2 (2) มีการบำรุงรักษาสภาพถนนให้มีความปลอดภัยอยู่เสมอ
เสาหลักที่ 2 2. ระบบการจราจร (50 คะแนน) กิจกรรม มีการจัดระบบการจราจรภายในสถานศึกษาให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ใช้รถใช้ถนน (1) การจัดเส้นทางการจราจรภายในสถานศึกษาให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ใช้รถใช้ถนน (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 2 (2) จัดให้มีทางข้ามถนนที่สะดวกและปลอดภัย (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 2 (3) จัดสถานที่จอดรถที่เป็นระเบียบและปลอดภัย (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 2 (4) กำกับดูแลให้นักเรียน และผู้ใช้รถใช้ถนนที่เข้ามาในสถานศึกษาถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด (20 คะแนน)
เสาหลักที่ 3 เสาหลักที่ 3 ยานพาหนะที่ปลอดภัย (50 คะแนน) แนวคิด ยานพาหนะที่นักเรียนใช้ขับขี่/โดยสารต้องมีมาตรฐานความปลอดภัย
เสาหลักที่ 3 3.1 นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องลักษณะยานพาหนะที่ปลอดภัย (20 คะแนน) กิจกรรม การให้ความรู้แก่นักเรียนภายในสถานศึกษา (1) มีการให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องยานพาหนะที่มีความปลอดภัยแก่นักเรียนอย่างทั่วถึง (20 คะแนน)
เสาหลักที่ 3 (2) นักเรียนเลือกใช้/โดยสารยานพาหนะที่มีลักษณะปลอดภัยในการเดินทาง (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 3 3.2 พาหนะที่นักเรียนขับขี่/โดยสารมีความปลอดภัย (30 คะแนน) กิจกรรม คณะทำงาน/คณะกรรมการ/ชมรมมีการตรวจสอบและมีมาตรการในการควบคุมไม่ทำให้นำยานพาหนะ ที่ไม่ปลอดภัยมารับ – ส่งนักเรียน (1) มีผู้รับผิดชอบดำเนินการตรวจพาหนะที่นักเรียนใช้ขับขี่/โดยสารรับ – ส่งนักเรียน ให้มีความปลอดภัยเป็นระยะๆอย่างสม่ำเสมอ (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 3 (2) สถานศึกษามีกระบวนการคัดเลือกยานพาหนะที่ปลอดภัยเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนใช้พาหนะที่ปลอดภัย (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 3 (3) การดำเนินการกับพาหนะที่ไม่ปลอดภัย ( 10 คะแนน)
เสาหลักที่ 4 เสาหลักที่ 4 นักเรียนมีพฤติกรรมในการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย (200 คะแนน) แนวคิด การสร้างวัฒนธรรมคงวามปลอดภัยให้เกิดแก่นักเรียนภายในสถานศึกษา และขยายผลไปยังชุมชนหรือบุคคลภายนอกสถานศึกษา
เสาหลักที่ 4 4.1 การมีส่วนร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนของนักเรียน (70 คะแนน) (1) มีความร่วมมือกันของนักเรียนในการวิเคราะห์ปัญหาอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน (20 คะแนน)
เสาหลักที่ 4 (2) มีการส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรการ/นวัตกรรมใหม่ๆ ในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุของนักเรียน (20 คะแนน)
เสาหลักที่ 4 (3) การมีส่วนร่วมในการรับรู้แผนงานด้านวามปลอดภัย (10 คะแนน)
เสาหลักที่ 4 (4) มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร/การใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องและปลอดภัย(20 คะแนน)
เสาหลักที่ 4 4.2 ด้านวินัยในการใช้รถใช้ถนน (130 คะแนน) (1)พฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนของนักเรียนที่ไม่ถูกต้อง แนวทางการประเมินตามแบบรายงานการตรวจสอบท้ายเกณฑ์การตัดสิน (2)จัดกิจกรรม/นิทรรศการ/ป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีวินัยและมีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน (15 คะแนน)
เสาหลักที่ 4 (3) การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน (15 คะแนน)
เสาหลักที่ 5 เสาหลักที่ 5 การตอบสนองหลังเกิดเหตุ (50 คะแนน) แนวคิด การให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่ประสบอุบัติเหตุ และความพยายามแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุไม่ให้เกิดซ้ำขึ้นอีก
เสาหลักที่ 5 (1) มีการช่วยเหลือนักเรียนที่ประสบอุบัติเหตุ( 10 คะแนน)
เสาหลักที่ 5 (2)มีการฝึกสอนการปฐมพยาบาลผู้ประสบอุบัติเหตุให้แก่นักเรียนของสถานศึกษา (20 คะแนน)
เสาหลักที่ 5 (3) มีการค้นหาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุเบื้องต้น และมีการจัดทำรายงาน (20 คะแนน)
การให้คะแนน การให้คะแนน แบบรายงานการตรวจสอบพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ไม่ปลอดภัยของนักเรียน โดยมีผู้แทนกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดและผู้แทนสื่อมวลชนในพื้นที่
การให้คะแนน ตัวอย่าง สมมุติว่าโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือกแห่งหนึ่งมีนักเรียนประมาณ 4,000 คน กรรมการกได้ทำการสุ่มตรวจสอบพฤติกรรมฯของนักเรียนในช่วงเช้าของวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 เป็นเวลา 1 ชั่งโมง พฤติกรรมของนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือก ดังนี้
การให้คะแนน 1. การเดินข้ามถนนบริเวณด้านหน้าโรงเรียนของนักเรียน จำนวน 100 คน พบพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ไม่ปลอดภัย ดังนี้ • 1. 1 นักเรียนไม่ข้ามถนนบนทางม้าลาย จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 30 x 100 = 30 % • 100 1.2 นักเรียนไม่ข้ามสะพานลอย จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 70 x 100 = 70 % 100 1.3นักเรียนไม่หยุดมองขวาและมองซ้ายก่อนข้ามก่อนข้ามถนน จำนวน20 คน 20 x 100= 70 % 100