260 likes | 816 Views
โครงการสนับสนุน การพัฒนาคุณภาพ ระบบการบริการ ที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์ สู่งานมิตรภาพบำบัด อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน. ขณะนี้ โรงพยาบาล พัฒนาอะไรกันบ้าง. 1. พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน HA กับ สรพ.(พรพ.) 2. HNQA , HPHNQA , HCA 3 . PMQA 4 . มาตรฐานการบริการเฉพาะกรมกองต่างๆเช่น AIDS,
E N D
โครงการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพระบบการบริการที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์สู่งานมิตรภาพบำบัดอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืนโครงการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพระบบการบริการที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์สู่งานมิตรภาพบำบัดอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน
ขณะนี้ โรงพยาบาล พัฒนาอะไรกันบ้าง 1. พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน HA กับ สรพ.(พรพ.) 2. HNQA , HPHNQA, HCA 3. PMQA 4. มาตรฐานการบริการเฉพาะกรมกองต่างๆเช่น AIDS, สุขภาพจิต , งานอนามัยแม่และเด็ก 5. มาตรฐานการบริการโรคเรื้อรัง กับ สปสช. 6. ศูนย์องค์รวม และ ศูนย์ส่งเสริมมิตรภาพบำบัดสปสช. 7. โครงการ SHA ของ สรพ.กับ สสส. 8. อื่นๆ
HA ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์จากกระบวนการพัฒนาคุณภาพสถานบริการ ด้านสิทธิ / ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ / ด้านความปลอดภัย / ด้านการดูแลผู้ป่วย / ด้านทรัพยากรบุคคล / ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ / ด้านการมีส่วนร่วม / อื่นๆ ธรรมาภิบาล การกำกับดูแล กฎหมาย การจัดการกระบวนการ หายป่วย ป่วยซ้ำ ป่วยรุนแรง ป่วยเรื้อรัง เรื้อรังรุนแรง ระยะสุดท้าย สิ้นหวัง เข้าไม่ถึงบริการ ถูกทอดทิ้ง ปัญหาทางสังคม อื่นๆ การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง / นัดหมาย / ส่งต่อ การสร้างเสริมสุขภาพทุกขั้นตอน การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การวางแผน กลยุทธ์ เชื่อมโยงระบบงานสำคัญ กระบวนการดูแลผู้ป่วย ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทำงานกับชุมชน การนำ การมุ่งเน้น ผู้ป่วยและ สิทธิผู้ป่วย การบริการตามเกณฑ์ PP การบริการตามงานนโยบาย การสนับสนุนการดูแลต่อเนี่อง การเยี่ยมผู้ป่วย ครอบครัว การเฝ้าระวังโรคติดต่อ / ไม่ติดต่อ การเป็นหุ้นส่วนสุขภาพ การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ การบริการด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ กรอบแนวคิดโครงการโดย วราวุธ สุรพฤกษ์
สปสช สสส โครงการสภาพยาบาล ศูนย์ส่งเสริม มิตรภาพบำบัด ประชาคม และ องค์กรท้องถิ่น ศูนย์องค์รวม จิตอาสา หายป่วย ป่วยซ้ำ ป่วยรุนแรง ป่วยเรื้อรัง เรื้อรังรุนแรง ระยะสุดท้าย สิ้นหวัง เข้าไม่ถึงบริการ ถูกทอดทิ้ง ปัญหาทางสังคม อื่นๆ การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง / นัดหมาย / ส่งต่อ การสร้างเสริมสุขภาพทุกขั้นตอน หน่วยบริการ ปฐมภูมิ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ภาคประชาชน ครอบครัว ดูแลตนเองได้ตามสมควร สร้างเสริมนำการรักษา พึ่งพาสถานบริการลดลง คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้น ครอบครัวเป็นสุข ชุมชนเข้มแข็งและเกื้อกูล ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีราคาแพง ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและทุนสังคม เศรษฐกิจพอเพียง สังคมผาสุก ชุมชน / ท้องถิ่น การบริการตามเกณฑ์ PP การบริการตามงานนโยบาย การสนับสนุนการดูแลต่อเนี่อง การเยี่ยมผู้ป่วย ครอบครัว การเฝ้าระวังโรคติดต่อ / ไม่ติดต่อ การเป็นหุ้นส่วนสุขภาพ วัด / องค์กรศาสนา หน่วยบริการอื่นๆ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและจิตอาสา กรอบแนวคิดโครงการโดย วราวุธ สุรพฤกษ์ กรอบแนวคิดโครงการโดย วราวุธ สุรพฤกษ์
HA สสส. สปสช โครงการ สภาพยาบาล ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์จาก กระบวนการพัฒนาคุณภาพสถานบริการ ประชาคม และ องค์กรท้องถิ่น ด้านสิทธิ / ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ / ด้านความปลอดภัย / ด้านการดูแลผู้ป่วย / ด้านทรัพยากรบุคคล / ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ / ด้านการมีส่วนร่วม / อื่นๆ ศูนย์ส่งเสริม มิตรภาพบำบัด ธรรมาภิบาล การกำกับดูแล กฎหมาย ศูนย์ องค์รวม จิตอาสา การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง / นัดหมาย / ส่งต่อ การสร้างเสริมสุขภาพทุกขั้นตอน หน่วยบริการ ปฐมภูมิ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ภาคประชาชน หายป่วย ป่วยซ้ำ ป่วยรุนแรง ป่วยเรื้อรัง เรื้อรังรุนแรง ระยะสุดท้าย สิ้นหวัง เข้าไม่ถึงบริการ ถูกทอดทิ้ง ปัญหาทางสังคม อื่นๆ การวางแผน กลยุทธ์ เชื่อมโยงระบบงานสำคัญ กระบวนการดูแลผู้ป่วย ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทำงานกับชุมชน ครอบครัว ดูแลตนเองได้ตามสมควร สร้างเสริมนำการรักษา พึ่งพาสถานบริการลดลง คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้น ครอบครัวเป็นสุข ชุมชนเข้มแข็งและเกื้อกูล ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีราคาแพง ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและทุนสังคม เศรษฐกิจพอเพียง สังคมผาสุก การนำ ชุมชน / ท้องถิ่น การมุ่งเน้น ผู้ป่วยและ สิทธิผู้ป่วย วัด / องค์กรศาสนา การบริการตามเกณฑ์ PP การบริการตามงานนโยบาย การสนับสนุนการดูแลต่อเนี่อง การเยี่ยมผู้ป่วย ครอบครัว การเฝ้าระวังโรคติดต่อ / ไม่ติดต่อ การเป็นหุ้นส่วนสุขภาพ หน่วยบริการอื่นๆ การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ การบริการด้วยหัวใจ ของความเป็นมนุษย์ โครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการคุณภาพ ที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์ สู่งานมิตรภาพบำบัดอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน กรอบแนวคิดโครงการโดย วราวุธ สุรพฤกษ์
การบริการที่มีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางการบริการที่มีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 1. เน้นคุณค่า : ผู้ป่วย ความต้องการ ความพอใจ ร่วมตัดสินใจ 2. คำนึงถึง สิทธิ ศักดิ์ศรี และความเป็นมนุษย์ 3. ร่วมมือการดูแลแบบองค์รวม อย่างมีวิชาการผสมผสานทุกระดับบริการ 4. การให้ข้อมูลสื่อสารและความรู้ เน้นเพิ่มพลังอำนาจ 5. สุขสบายทางกาย สุขสบายอารมณ์ ลดความกลัว / วิตกกังวล 6. เข้าใจความต้องการของครอบครัวและผู้ใกล้ชิด 7. การส่งต่อผู้ป่วย ต้องได้รับการดูแลการรักษาพยาบาล ต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ ปลอดภัย
การบริการสุขภาพที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการสุขภาพที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง การสร้างกลมกลืนกันของจิตใจและร่างกายในประชาชน กับระบบบริการสุขภาพ ระบบสุขภาพเน้นการบริการอย่างมีส่วนร่วมแก่ ปัจเจกบุคคล ครอบครัว และชุมชน ที่เชื่อถือได้ว่าจะรับผิดชอบต่อความต้องการของผู้คนอย่างเป็นองค์รวมและมีมนุษยธรรม ถูกออกแบบจากความต้องการของผู้มีส่วนร่วม และสนับสนุนการร่วมงานกัน (ปัจเจกบุคคล ครอบครัว และชุมชน กับบุคลากรสาธารณสุข องค์กรด้านสุขภาพต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน) ในการขับเคลื่อนการปรับปรุงพัฒนาด้านคุณภาพและความรับผิดชอบต่อการดูแลสุขภาพ องค์ประกอบสำคัญที่ สอง บุคลากรสาธารณสุข (ความสามารถ และ ความรับผิดชอบ) องค์ประกอบสำคัญที่ สาม องค์กรด้านสุขภาพ (ประสิทธิภาพ และ จิตสำนึกการบริการเพื่อเพื่อนมนุษย์) องค์ประกอบสำคัญที่ หนึ่ง ปัจเจกบุคคล ครอบครัว และชุมชน (รับรู้และเข้าถึง ดีขึ้น และ ได้รับการเสริมพลังอำนาจมากขึ้น) องค์ประกอบสำคัญที่ สี่ : ระบบบริการสุขภาพ (สนับสนุน และ มีมนุษยธรรม) การสนับสนุนทางสังคมแก่ผู้ทุกข์ยาก Empathetic Environment Support วัฒนธรรมการบริการและการสื่อสาร Culture of Care & Communication รูปแบบบริการสุขภาพที่เหมาะสม Appropriate Health Service Model ความรับผิดชอบ การตอบสนองและการบริการที่เหมาะสม Responsible, Responsive, Accountable Services
องค์ประกอบสำคัญที่ หนึ่ง :ปัจเจกบุคคล ครอบครัว และชุมชน (รับรู้และเข้าถึง ดีขึ้น และ ได้รับการเสริมพลังอำนาจมากขึ้น) ทักษะเพื่อการมีส่วนร่วมในการการตัดสินใจอย่างมีความหมายและมีคุณค่า เครื่องมือช่วยการตัดสินใจ ชุดให้ความรู้ด้านสุขภาพ การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเอง การขยายความช่วยเหลือ สนับสนุนกันและกัน (ภาคอาสาสมัคร , ภาคประชาคม , องค์กรเชี่ยวชาญเฉพาะ) ความสามารถเพื่อการ จัดการตนเองและการดูแลตนเอง ความรู้เท่าทันสุขภาพ (Health literacy) การฝึกอบรมอาสาสมัคร , การสนับสนุนด้านทุนและทรัพยากร การรณรงค์ การให้การศึกษา การให้คำปรึกษา การสื่อสารทาง web การจัดการด้านโรคเรื้อรัง กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน การจัดการให้มีการบริโภคยาอย่างถูกต้องสม่ำเสมอ คณะกรรมการโรงพยาบาล คณะกรรมการที่ปรึกษาการบริการสุขภาพ โครงการเกี่ยวกับสุขภาพชุมชน การเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ การวางแผนการบริการสุขภาพ และความร่วมมือระหว่างหน่วยราชการท้องถิ่นกับภาคชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชน การช่วยเหลือและสนับสนุน (Advocate & support) การสนับสนุน โครงสร้างทางสังคม การพัฒนาผู้นำภาคชุมชน กลไกกระบวนการการมีส่วนร่วม และ ความร่วมมือ การสนับสนุนทุนและทรัพยากร รวมถึงการฝึกอบรมแก่องค์กรผู้บริโภค การระบุบุคคล การพัฒนาผู้นำ กลไกกระบวนการการมีส่วนร่วม
องค์ประกอบสำคัญที่ สอง :บุคลากรสาธารณสุข (ความสามารถ และ ความรับผิดชอบ) ความรู้ความสามารถหลักของบุคลากรที่เน้นการบริการที่มีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ความสามารถในการดูแลองค์รวมด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ องค์ความรู้ด้านการให้สุขศึกษา และกระบวนการฝึกอบรมในทุกเรื่องที่จำเป็นสำหรับบุคลากรสาธารณสุข ความตระหนักรับผิดชอบต่อ การบริการที่มีคุณภาพ ปลอดภัยตามจรรยาบรรณ เนื้อหาที่จำเป็น -ความรู้ ทักษะ ความสามารถ ที่ต้องมี - การเน้นย้ำ ความสำคัญของปัจจัยด้าน ชีวิตร่างกาย จิตสังคม และจิตปัญญา - การผสมผสานบนพื้นฐานความตระหนักด้านมนุษยธรรม - ความเชี่ยวชาญต้านการสื่อสารต่อผู้คน และการสร้างความเชื่อถือไว้วางใจได้ - ความสามารถผสมผสานกับบริบทวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม - เข้าใจเข้าถึงมิติด้านจิตสังคม - เข้าใจภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน - เชื่อมั่นในการใช้ประโยชน์จากการใช้เหตุผลเชิงประจักษ์ - ประสานสมดุลการบริการเวชศาสตร์ครอบครัวชุมชนและแบบผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน - เป็นบุคคลแบบอย่าง เพื่อคงไว้ซึ่งความมีคุณค่า - นำพาการเรียนการสอนในลักษณะสหสาขาวิชาชีพ - ได้รับการเรียนรู้ฝึกฝนในด้านการรับรู้ และตอบสนอง - รักการเรียนรู้ต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาและเติบโตทางปัญญา - ห่วงใยและเอาใจใส่สุขภาพและความเป็นอยู่ของผู้คน - มีวิธีการเรียนรู้ และการสอน ที่หลากหลาย - พัฒนาด้านวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง จัดการบริการด้านสุขภาพด้วยความรับผิดชอบตอบสนองต่อความต้องการ สิทธิ ความพึงพอใจ และความคาดหวังของประชาชน เสริมความเข้มแข็ง แก่คุณค่าการเห็นประชาชนเป็นศูนย์กลาง การให้การยอมรับ และการสนับสนุนการเป็นแบบอย่างที่ดี
องค์ประกอบสำคัญที่ สาม :องค์กรด้านสุขภาพ (ประสิทธิภาพ และ จิตสำนึกการบริการเพื่อเพื่อนมนุษย์) ทีมสุขภาพแบบสหสาขาวิชาชีพ สิ่งแวดล้อม ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความร่วมมือในการบริการสุขภาพ รายละเอียดภาระงาน และหน้าที่ความรับผิดชอบในฐานะทีมสุขภาพ การสนับสนุนการพัฒนาทีมสุขภาพและการเพิ่มประสิทธิผลของการดำเนินการ ข้อกำหนดการสื่อสารประสานงานระหว่างวิชาชีพ ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย เอื้อต่อการปฏิบัติงาน บรรยากาศทางสังคม อารมณ์ การสนับสนุนด้านจิตปัญญา นโยบายด้านการจัดการความเสี่ยง การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ทางสุขภาพ การไหลเวียนของผู้ป่วย การนัดหมาย การเข้าถึงการตรวจวินิจฉัยเฉพาะที่จำเป็น การแจ้งสิทธิ และ การยืนยันการรับรู้ บันทึกทางสุขภาพและการบริการ ระบบการจำหน่ายและการส่งต่อผู้ป่วย การบูรณาการ การให้สุขศึกษาและให้คำปรึกษาแก่ ผู้ป่วย เข้ากับการมีส่วนร่วมของครอบครัว และความสามารถในการจัดการสุขภาพตนเองและครอบครัว ระบบบริการสุขภาพที่มีประสิทธิผล ความปลอดภัย บนพื้นฐานจรรยาบรรณวิชาชีพ มาตรฐาน และการสร้างแรงจูงใจ มาตรฐานด้านบุคลากร ระบบค่าตอบแทน ที่สนับสนุนความมั่นคงเพื่อการดำรงชีพ ระบบเสริมแรงจูงใจตามระดับประสิทธิภาพการทำงาน การยกย่องยอมรับบุคลากรที่เป็นแบบอย่าง ต่อสาธารณะ การพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่างต่อเนื่อง การฝึกอบรมความรู้ทักษะความสามารถที่จำเป็นต่อภาระงาน การติดตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมาย เพื่อการพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภาวะผู้นำและทักษะการจัดการ รูปแบบการบริการอื่นๆ ภาวะผู้นำ ทักษะความสามารถในการจัดการทรัพยากรและการพัฒนาองค์กร การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ การจัดการการฝึกอบรมภาวะผู้นำแก่ทีมงาน อาทิเช่น การบริการนอกเวลา , การฝึกหัดพยาบาล การดำเนินการด้านจิตสังคม การบริการในชุมชน
องค์ประกอบสำคัญที่ สี่ :ระบบบริการสุขภาพ (สนับสนุน และ มีมนุษยธรรม) มุ่งเน้นการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่แน่นอนเด่นชัด เพื่อปรับปรุงการบริการสุขภาพ และระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น พัฒนาและสร้างความแข็งแกร่งแก่ ระบบบริการปฐมภูมิ และผู้ปฏิบัติงานในระบบบริการปฐมภูมิ แรงจูงใจด้านต่างๆ เพื่อ ให้เกิด พฤติกรรมบริการที่ดี และ การปรับปรุงการเข้าถึงบริการ จัดให้มีหน่วยงานที่จะวัดประ เมินผลความคุ้มค่า เหมาะสมทางสังคม ขององค์กรบริการสุขภาพ การให้บริการและระบบ บริหารทรัพยากร การเงิน เสริมสร้างความมั่นใจในการใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม เสริมสร้างความแข็งแกร่งต่อระบบติดตามประเมินมาตรฐานการบริการทางวิชาชีพ ติดตามและระบุความสัมพันธ์เกี่ยวข้องของผู้ป่วยและชุมชน ต่อคุณภาพการบริการสุขภาพ ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับ ผลกระทบที่เป็นอันตรายจากระบบบริการสุขภาพ สร้างความมั่นใจในการปกป้องข้อมูลผู้ป่วย
วัตถุประสงค์ของโครงการ(ต่อ)วัตถุประสงค์ของโครงการ(ต่อ) • ใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการเป็นแนวทาง ควบคู่ไปกับการทำงานแบบสหสาขาวิชาชีพอย่างกว้างขวาง • ให้ความสำคัญกับแนวคิดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางและHPHA • สร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในระดับและรูปแบบต่างๆ (ในรพ. PCUครอบครัว ชุมชน ?) • เกิดภาพรวมของระบบบริการสุขภาพอย่างมีมิตรภาพ ด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ ภายใต้การสนับสนุนจากผู้บริหารหน่วยบริการฯ
วัตถุประสงค์ของโครงการ(ต่อ)วัตถุประสงค์ของโครงการ(ต่อ) • ศูนย์ส่งเสริมมิตรภาพบำบัด หรือพัฒนากระบวนดูแลอย่างมีมิตรภาพ มีการดำเนินการผสมผสานอย่างเหมาะสมกับบริบทโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญ และบริบทสถานพยาบาล/ชุมชน ในลักษณะหุ้นส่วนสุขภาพที่ยั่งยืน • ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ครอบครัว และชุมชน ได้รับโอกาส ได้รับรู้ เข้าถึง เข้าใจและได้รับการเสริมพลังอำนาจ และตระหนักถึงความสำคัญและคุณค่าของการมีส่วนร่วมเป็นหุ้นส่วนสุขภาพกับหน่วยบริการ • บทเรียนสำคัญต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำคัญในการสนับสนุนการขยายพื้นที่ในจังหวัด/ภาคต่างๆเพิ่มเติม
ขั้นตอนดำเนินการ • ประชุมเครือข่ายๆในโครงการฯ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสนับสนุนด้านองค์ความรู้ที่จำเป็นแก่บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย จำนวนไม่เกิน ๖ ครั้งต่อเครือข่ายต่อปี ยืดหยุ่นตามความพร้อมตามบริบทเครือข่าย • เข้าเยี่ยมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้คำปรึกษาและสนับสนุน หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการฯ (รวมถึง หน่วยบริการที่อยู่ในโครงการเครือข่ายผู้บริหารการพยาบาลประสานพลังสร้างงานมิตรภาพบำบัดดำเนินการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมมิตรภาพบำบัดที่เข้าร่วมโครงการฯนี้) ที่มีผลงานที่น่าสนใจไม่เกิน ๑๐ แห่ง ไม่เกินปีละ ๒ ครั้ง
กลุ่มบุคลากรเป้าหมายในหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการฯกลุ่มบุคลากรเป้าหมายในหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการฯ • ทีมนำพัฒนาคุณภาพ หน่วยบริการฯ • ทีมดูแลผู้ป่วย และทีมสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง • ทีมงาน เวชกรรมสังคม เวชปฏิบัติครอบครัว ทีมงานชุมชน ทีมงานจิตเวช และทีมเยี่ยมบ้าน • ผู้บริหารระดับต่างๆของหน่วยบริการ และแพทย์ที่มีรับผิดชอบหรือให้ความสนใจ • และ/หรือ ผู้แทนภาคประชาชน ที่หน่วยบริการฯชักชวนมาเข้าร่วมโครงการฯ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การเตรียมความพร้อมเพื่อการร่วมงาน(ครั้งแรก)การเตรียมความพร้อมเพื่อการร่วมงาน(ครั้งแรก) • รพ.เลือกโรคเรื้อรังที่สำคัญ หรือโรคที่สนใจ มา 1 โรค • หาข้อมูลเชิงประจักษ์ ระดับรพ. ท้องถิ่น อำเภอ • ทบทวนนโยบายและแผนงานทุกระดับที่เกี่ยวกับโรคนั้น • ทบทวนกระบวนดูแลผู้ป่วยที่มีอยู่จริงในโรคนั้นๆในภาพรวม ทั้งในรพ.และภายนอกรพ. รวมถึงระบบส่งต่อ • ทบทวนบทบาทของทีมต่างๆ ทั้งในและนอกรพ.ต่อการให้บริการโรคนั้นๆ • ทบทวนความต้องการและรูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย/ครอบครัวที่มีอยู่ในโรงพยาบาล • ศึกษาลักษณะความต้องการและการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรภาคประชาชนต่างๆที่มีอยู่จริงต่อโรคนั้นๆ
การบ้านเพื่อการประชุมครั้งที่ 2 • การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายในโรคที่เลือกไว้ เพื่อระบุปัญหาสำคัญ 3-5 เรื่อง ทั้งแง่มุม Clinical outcome และ Holistic ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพและผลการบริการต่อโรคนั้นๆ • ค้นหาปัญหาความเชื่อมโยงบทบาทของทีมต่างๆ ทั้งใน(และนอกรพ.) ต่อการให้บริการโรคนั้นๆในกรอบที่ต้องการ • หลายๆทีมที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันหาประเด็นที่สามารถนำสู่การปรับปรุงกระบวนดูแลผู้ป่วยที่มีอยู่จริงในโรคนั้นๆในภาพรวม ทั้งในรพ. (และภายนอกรพ.) โดยพยายามศึกษาความต้องการ และสร้างการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติ /ครอบครัว/จิตอาสาต่างๆ • เริ่มมองหา/ระบุช่องทาง และรูปแบบการมีส่วนร่วมและความต้องการของภาคประชาชนอื่นๆ ที่น่าจะเกิดได้จริงในพื้นที่
การบ้านเพื่อการประชุมครั้งที่ 3 • เอากรอบแนวคิดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางมาวิเคราะห์กัน หาสิ่งที่ยังขาดหายไปในองค์กรและการบริการ • ทีมสหสาขาวิชาชีพ ทีมเยี่ยมบ้าน เวชปฏิบัติครอบครัว ร่วมกับผู้ป่วย ญาติ จิตอาสา ค้นหาว่า ต่างจะต้องปรับ เปลี่ยน ตนเอง ทีมงาน ความร่วมมือ และกระบวนการบริการโรคนั้นๆในภาพรวมอย่างมีส่วนร่วมให้ได้ผลตามกรอบแนวคิดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (อย่าลืม จิตเวช กายภาพ โภชนากร เภสัช PCU ฯ) • ทดลองนำสิ่งที่คาดฝัน ไปปฏิบัติให้เห็นภาพและกระบวน การ ที่มี ผู้ป่วย ญาติ ครอบครัว จิตอาสาฯ มาเข้าร่วมกับในระหว่างขั้นตอนต่างๆใน รพ. ที่PCU จนถึงที่บ้าน ชุมชน • อะไรเป็นสิ่งที่เป็นไปได้และเป็นไปได้ยาก หนทางคลี่คลาย
การบ้านเพื่อการประชุมครั้งที่ 4 • เลือกมองในเขตรับผิดชอบ และนอกเขต • พิจารณาลงลึกถึงกลุ่มโรคที่เลือกนั้น เชิงภาพรวมต่อเนื่องสู่ - PCU / หน่วยบริการอื่นๆ (ระบบส่งต่อ ดูแลต่อเนื่อง) - ระดับครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น - ระดับประชาคม ท้องถิ่น ค้นหาโอกาส ความร่วมมือ ทุนสังคมที่มีอยู่อะไร • ศึกษาแนวทางการปรับและเชื่อม ทีมเวชกรรมสังคม เวชปฏิบัติครอบครัว ทีมเยี่ยมบ้าน และ/หรือทีม PCU จิตอาสา ท้องถิ่นและประชาคม • ลองออกแบบการมีส่วนร่วมหรือปรับกระบวนการที่มีอยู่แล้ว สักสองสามเรื่อง ในโรคเดียวนั้น ลองออกไปทำดู
การบ้านเพื่อการประชุมครั้งที่ 5 • นำตัวแทนผู้ป่วย ญาติ PCU ท้องถิ่น ประชาคม ที่ร่วมงานกันจริงในการสร้างการมีส่วนร่วม เสนอแนวคิด/รูปแบบ • ขั้นต่ำ แม้ไม่ได้เอาตัวแทนมา รพ.ก็น่าจะแสดงให้เห็นถึง กรอบแนวคิดหรือแนวโน้มการสร้าง/มีส่วนร่วมที่เน้น บรรยากาศความร่วมมืออย่างมีการรับฟังกัน และมีมิตรภาพ ในและนอกรพ. (มากกว่าการเสนอกิจกรรม) • ขั้นที่ดี คือ เห็นเป็นรูปแบบสำหรับโรคนั้นที่ทำได้หรือมีแนวโน้มทำได้จริงอย่างมีส่วนร่วม อย่างเป็นรูปธรรม • ขั้นสูงที่สุดคือเห็นภาพรวมเชิงนโยบายที่มีระบบภายใต้การสนับสนุนจากทุกระดับ แบบมีทิศทาง และต่างให้การสนับสนุนกันและกัน (ระดับนี้ยากแต่อาจพอเห็นได้บ้าง)
รพ.ที่ต้องการเผยแพร่ แม้ว่าจะยังไม่ดีเท่าที่ฝัน ขอช่วยจัดเตรียมทำ เป็น powerpoint ที่มีรูปกิจกรรมที่ต้องการนำเสนอประกอบ ไม่เกิน 30หน้า และขอร่วมกันคิดจัดทำเป็น word โดยละเอียด สะท้อนความเป็นตัวตนที่มีอยู่จริงของตน จะกี่หน้าก็ได้ ถ้าไม่ต้องการให้ระบุชื่อรพ.ก็แจ้งให้ทราบได้ ประเด็นเสนอคือ ความจริงที่ค้นพบในการบริการโรคที่เลือก ในด้านปัญหาของผู้ป่วย ศักยภาพของญาติ และ/หรือชุมชน ในด้านมุมมองที่เขาเหล่านั้นมีต่อการบริการโรคนั้นๆและหน่วยงานเรา การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายหลังเข้าร่วมประชุมตลอด 6 เดือน เปรียบเทียบกระบวนการเดิมกับกระบวนการใหม่ที่พัฒนาขึ้น ในแบบflow chart และ ผลผลิต/ผลลัพธ์ /ผลลัพธ์ทางคลินิก ที่เกิดขึ้นจริง (ถ้ามี)
ลักษณะของความร่วมมือที่เกิดขึ้นจริงลักษณะของความร่วมมือที่เกิดขึ้นจริง ความเชื่อมโยงที่เปลี่ยนแปลงไปในการพัฒนาคุณภาพภายในหน่วยงาน ความร่วมมือของญาติและผู้ป่วย ครอบครัว ความร่วมมือของภาคประชาชนระดับต่างๆ/จิตอาสา ท้องถิ่น ความร่วมมือของจิตอาสา เก่า/ใหม่ ที่เกิดขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป ผู้ป่วยโรคนั้นของเรามีความสุขกับการรับบริการมากขึ้นไหม ทำไมจึงเกิดขึ้น ในลักษณะไหน และบุคลากรเรารู้สึกอย่างไร เข้าใจอย่างไร แนวโน้มการควบคุม ป้องกันโรคนั้นๆ ในอนาคตเป็นอย่างไร ปัญหาอุปสรรค การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมา แนวทางแก้ไข ความฝันและแนวทางที่จะดำเนินการต่อไปในอนาคต
การบ้านเพื่อการประชุมครั้งที่ 6 • นำความรู้ทั้งหมดมา สังเคราะห์กันเปรียบเทียบกับก่อนการพัฒนาที่มีการบันทึกไว้ปัจจัยเอื้อ/ต้าน การแก้ไข ทั้งใน - แง่กรอบแนวคิด ความสนับสนุน ความเชื่อมโยง - รูปแบบการมีส่วนร่วมระดับต่างๆ ในเครือข่ายสาธารณสุข - รูปแบบการมีส่วนร่วมระดับต่างๆ ในเครือข่ายประชาชน - ความรู้สึกที่ผู้ป่วยญาติได้รับ บุคลากรรู้สึก - บทบาทที่เพิ่มขึ้นของท้องถิ่น และอะไรต่ออะไรที่รพ.คิด ว่าน่าสนใจ • ข้อเสนอแนะเพื่อการนำไปขยายพื้นที่ยังจังหวัดอื่นๆ • ความต้องการเพิ่มเติมหลังโครงการสิ้นสุด
ระดมความคิดข้อเสนอแนะ และการนัดหมาย