740 likes | 895 Views
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน เมษายน 2556. รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด. ด้านที่ 1 การดูแลด้านผู้ป่วย ( PCR) 18 ตัวชี้วัด. ด้านที่ 1 (ต่อ). 1.1 อัตราตายรวม(ผู้ป่วยใน) 1.2 อัตราตายทารกตายปริกำเนิด 1.3 อัตราการเกิดภาวการณ์ขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด
E N D
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาลปีงบประมาณ 2556เดือน เมษายน 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด
ด้านที่1 การดูแลด้านผู้ป่วย (PCR) 18 ตัวชี้วัด ด้านที่ 1 (ต่อ) 1.1 อัตราตายรวม(ผู้ป่วยใน) 1.2 อัตราตายทารกตายปริกำเนิด 1.3 อัตราการเกิดภาวการณ์ขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด 1.4 อัตราเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัมในหญิงที่ฝากครรภ์ในโรงพยาบาล 1.5 อัตรามารดาเสียชีวิต 1.6 อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออก 1.7 อัตราการติดเชื้อ VAP 1.8 อัตราการติดเชื้อ CAUTI 1.9 อัตราการติดเชื้อ SSI 1.10 อัตราการเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผน 1.11 อุบัติการณ์การแพ้ยาซ้ำในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา 1.12 อัตราการเกิด ROP 1.13 ร้อยละผู้ป่วยSTEMIที่ได้รับยาSKภายใน 30 นาที 1.14 อัตราER Re-visitภายใน48 ชม.ด้วยอาการที่รุนแรง 1.15 ระยะเวลาตอบสนอง(Response time)ต่อการเรียกใช้ EMS <10 นาที 1.16 อัตราตายหลังผ่าตัดในผู้ป่วยElective case ภายใน24 ชม. 1.17 อัตราผ่าตัดซ้ำ 1.18 อัตราการเกิด Seroma หลังผ่าตัดมะเร็ง เต้านม
1.1 อัตราตายผู้ป่วยในรวม เกณฑ์ต่ำกว่า 5% เสียชีวิต 77 ราย IPD 3,261 ราย
5 อันดับการตายผู้ป่วยใน เมษายน 2556 1. Bacteria Pneumonia7 ราย 2. ARF 3ราย 3. Cardiac arrest 3ราย 4. Acute peritonitis 3 ราย 5. Labour and delivery complicated 1 ราย by meconium in amniotic fluid
5 อันดับการตายผู้ป่วยนอก เมษายน 2556 ตายทั้งหมด 25 ราย 1.หัวใจล้มเหลว 9 ราย 2. ผูกคอตาย 4ราย 3. อุบัติเหตุยานพาหนะ 4 ราย 4.ไม่ทราบสาเหตุการตาย 2 ราย 5. จมน้ำ 1 ราย
1.2 อัตราตายปริกำเนิด เสียชีวิต 0 ราย เกิดมีชีพ 259 ราย เกณฑ์< 9 : 1000 การเกิดมีชีพ
1.3 อัตราการเกิดภาวะการขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด BA 13 ราย ในเขต 2 ราย นอกเขต 11 ราย เกิดมีชีพ 259 ราย เกณฑ์ 30:1,000 การเกิดมีชีพ
1.4 อัตราเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2,500กรัมในหญิงที่ANC ในโรงพยาบาล LBW 1 ราย ANC รพ.กส. 26 ราย เทศบาล ANC 1 ราย LBW 0 ราย เมือง ANC 15 ราย LBW 1 ราย ดอนจาน ANC 5 ราย LBW 0 ราย เกณฑ์ต่ำกว่า <7%
1.5 อัตรามารดาเสียชีวิต เสียชีวิต 1 ราย เกิดมีชีพทั้งหมด 259 ราย จาก Septic shock, thrombocytopenia, Metabolic acidosis,acute kidney injury, Brain edema,acute blood loss เกณฑ์< 18:100,000การเกิดมีชีพทั้งหมด
1.6 อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออก เสียชีวิต 0 ราย จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก ทั้งหมด 22 ราย เกณฑ์ต่ำกว่า < 0.13%
1.7 อัตราการติดเชื้อVAP เกณฑ์ < 10 : 1,000 วันใช้เครื่องช่วยหายใจ
ข้อมูลการติดเชื้อ VAP ปีงบประมาณ 2556 เชื้อ A.Baum 2 ครั้ง,ไม่พบเชื้อ 1 ครั้ง เชื้อ A.Baum เชื้อ A.Baum เชื้อ Staphs Coag-negaitive
1.8 อัตราการติดเชื้อ CAUTI(Catheter associated urinary tract infection) เกณฑ์ < 5 : 1,000วันคาสายสวน
1.9 อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด SSI(01,02)Sit Specific Infection (สะอาด,กึ่งปนเปื้อน) เกณฑ์ < 4.5 %
1.7 อัตราการเลื่อนหลุดของ Tube เกณฑ์ < 10 : 1,000 วันใช้เครื่องช่วยหายใจ
ข้อมูลการเลื่อนหลุดของ Tube ปีงบประมาณ 2556
1.10 อัตราการเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วัน โดยไม่ได้วางแผน Re-Admitted 12 ราย Admitted เดือนที่แล้ว 3,300 ราย เกณฑ์ < 2.5 %
อัตราการเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วัน โดยไม่ได้วางแผน
1.11 อุบัติการณ์การแพ้ยาซ้ำในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา เกณฑ์ 0 ราย
1.12 อัตราการเกิด ROP(Retinopathy of prematurity) ตึกเด็กอ่อน ROP จำนวน 0 ราย จำนวนทารกคลอดก่อนกำหนด ทั้งหมดจำนวน 42 ราย เกณฑ์ 0%
1.13 ร้อยละผู้ป่วยSTEMIที่ได้รับยา SK ภายใน 30 นาที เกณฑ์ >40%
1.14 อัตรา Re-Visit ที่ ER ภายใน 48 ชม. เกณฑ์ 0%
1.15 ระยะเวลาตอบสนอง(Response time)ต่อการเรียกใช้ EMS <10 นาที เกณฑ์ >80%
1.16 อัตราตายหลังผ่าตัดในผู้ป่วยElective Caseภายใน24ชม. เกณฑ์ 0%
1.17 อัตราผ่าตัดซ้ำ ผ่าตัดทั้งหมด 575 ราย ผ่าตัดซ้ำ 0 ราย เกณฑ์ 0%
1.18 อัตราการเกิด seroma หลังผ่าตัดมะเร็งเต้านม เกณฑ์ 0%
ด้านที่2 การมุ่งเน้นของผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่น 2.1 ความพึงพอใจผู้ป่วยนอก 2.2 ความพึงพอใจผู้ป่วยใน 2.3 ความพึงพอใจของชุมชน 2.4 ร้อยละข้อร้องเรียนที่ตอบสนองผู้ร้องเรียนได้ (ภายในเวลา 15 วัน)
2.1 ความพึงพอใจผู้ป่วยนอก เกณฑ์ >85%
2.2 ความพึงพอใจผู้ป่วยใน เกณฑ์ >85%
2.3 ความพึงพอใจของชุมชน เกณฑ์ >85%
2.4 ร้อยละข้อร้องเรียนที่ตอบสนองผู้ร้องเรียนได้ (ภายในเวลา 15 วัน) เกณฑ์ 100%
ด้านที่3 ผลลัพธ์ด้านการเงิน 3.1 อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (Quick Ratio) 3.2 อัตราเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) 3.3 อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สินที่ต้องชำระ(Cash Ratio)
3.1 อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (Quick Ratio) ณ ก.พ. 56 Quick Ratio 1.62 เกณฑ์ ≥1%
3.2 อัตราเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) ณ ก.พ.56 Current Ratio 1.86 เกณฑ์ ≥1.5%
3.3 อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สินที่ต้องชำระ ( Cash Ratio) ณ ก.พ.56 Cash Ratio 1.00 เกณฑ์ ≥0.8%
ด้านที่ 4 ผลลัพธ์ด้านบุคลากรและระบบงาน 4.1 จำนวนงานวิจัย / R2R /mini research 4.2 จำนวนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพในหน่วยงาน 4.3 อัตราความผาสุกของเจ้าหน้าที่ 4.4 อัตราการ Turn Over Rate 4.5 อัตราการสัมผัสเชื้อ / บาดเจ็บ จากการปฏิบัติงาน Part 4
4.1 จำนวนงานวิจัย / R2R /mini research เกณฑ์ >5 เรื่อง/ปี
4.2 จำนวนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพในหน่วยงาน เกณฑ์ >10 เรื่อง/ปี
4.3 อัตราความผาสุกของเจ้าหน้าที่ เกณฑ์>85%
4.4 อัตราการ Turn Over Rate เกณฑ์ <1%
4.5 อัตราการสัมผัสเชื้อ / บาดเจ็บ จากการปฏิบัติงาน เกณฑ์ <1%
ด้านที่5 ผลลัพธ์ด้านระบบงานและกระบวนการสำคัญ ด้านที่5 (ต่อ) 5.9 ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยผู้ป่วยนอก 5.10 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก 5.10.1 จำนวนสั่งยาผิดผู้ป่วยนอก(Prescribing error) 5.10.2 จำนวนจ่ายยาผิดผู้ป่วยนอก(Dispensing error) 5.11 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยใน 5.11.1 จำนวนสั่งยาผิดผู้ป่วยใน (Prescribing error) 5.11.2 จำนวนจ่ายยาผิดผู้ป่วยใน (Dispensing error) 5.11.3 จำนวนครั้งความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา 5.12 อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียน ผู้ป่วยใน 5.13 ระบบบำบัดน้ำเสียผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - ค่า BOD น้ำเข้า - ค่า BOD น้ำออก - ความเป็นกรดด่าง - สารแขวนลอย (Suspended Solids;SS) - ตะกอนหนัก 5.1 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA แก้ไขเชิงระบบ 5.2 จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติการณ์ทางคลินิก ระดับ GHI 5.3 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ G H I ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA การแก้ไขเชิงระบบ 5.4 ร้อยละของอุบัติการณ์ซ้ำในระดับ G H I 5.5 อัตราตัวชี้วัดด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยตามPatient safety goal ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 5.6 อัตราการครองเตียง 5.7 อัตราเครื่องมือแพทย์สำคัญได้รับการสอบเทียบ( เครื่องมือที่มีความเสี่ยงสูง) 5.8 อัตราความสามารถตอบสนองความต้องการบริการเครื่องมือทั่วไป(Infusion Pump ,monitor)
5.1 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA แก้ไขเชิงระบบ เกณฑ์ >80% NA
5.2 จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติการณ์ทางคลินิก ระดับ GHI เกณฑ์ 0 ครั้ง
5.3 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ GHI ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA แก้ไขเชิงระบบ เกณฑ์100% NA NA NA NA
5.4 ร้อยละของอุบัติการณ์ซ้ำในระดับ G H I เกณฑ์ 0%
5.5 อัตราตัวชี้วัดด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยตามPatient safety goal ผ่านเกณฑ์คุณภาพ เกณฑ์ 100%
5.6 อัตราการครองเตียง เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 80%
5.7 อัตราเครื่องมือแพทย์สำคัญได้รับการสอบเทียบ (เครื่องมือที่มีความเสี่ยงสูง) เกณฑ์100%
5.8 อัตราความสามารถตอบสนองความต้องการบริการเครื่องมือทั่วไป(Infusion Pump ,monitor) เกณฑ์ >70%