380 likes | 477 Views
รายงานการพยากรณ์โรค ไข้เลือดออกพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 ปี พ.ศ. 2555 - 56. โดย คณะกรรมการพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก ผู้นำเสนอ นาย วรวิทย์ ติดเทียน. บทนำ.
E N D
รายงานการพยากรณ์โรคไข้เลือดออกพื้นที่สาธารณสุขเขต 17ปี พ.ศ. 2555 - 56 โดย คณะกรรมการพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก ผู้นำเสนอ นายวรวิทย์ ติดเทียน
บทนำ • ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้เป็นนโยบายที่อยู่ในเป้าหมายการป้องกันควบคุมโรค • ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 มีอัตราป่วยในภาพรวมของเขตสูงกว่าอัตราป่วยของประเทศเกือบทุกปี • ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 กรมควบคุมโรคได้กำหนดเป็นนโยบายเน้นหนักเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรคและภัยสุขภาพซึ่งหนึ่งในนโยบายดังกล่าวคือ “การพัฒนาการพยากรณ์โรค”
วัตถุประสงค์ • เพื่ออธิบายลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 • เพื่อคาดการณ์แนวโน้มของโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2555 - 56 • เพื่อบ่งชี้ประชากรและพื้นที่เสี่ยงต่อการระบาด • เพื่อเสนอแนะมาตรการการป้องกันการระบาด
ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ • ประชากรกลางปี (2545 – 2554) • จำนวนผู้ป่วยย้อนหลัง รง.506(2545 – 2554) • ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI (2551 – 2554)
วิธีการ • ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาโดยวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะการเกิดโรคและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง • พยากรณ์แนวโน้มของการเกิดโรคโดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติชั้นสูงแบบอนุกรมเวลา (Time Series Analysis) • วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดโดยใช้แผนที่ทางภูมิศาสตร์โดยใช้เทคนิคกระบวนการซ้อนทับข้อมูล (Overly Analysis) และรูปแบบการเกิดโรคไข้เลือดออกย้อนหลังของพื้นที่ทิ่เกิดโรค
ผลการศึกษา และ อภิปรายผล
อัตราป่วยไข้เลือดออกของพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 และระดับประเทศพ.ศ. 2545 – 2554
อัตราป่วยไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2554
อัตราตายไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2554
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 (ม.ค.2550 – ก.ค.2555)
อัตราป่วยไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2550 – 2554
อัตราป่วยไข้เลือดออกแยกกลุ่มอายุ พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2549 – พ.ศ.2554
สัดส่วนจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกแยกกลุ่มอายุพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2554 รง.506 ณ ก.ค. 55
สัดส่วนจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกแยกกลุ่มอายุพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2554 10-14 ปี 5-9 ปี 0-4 ปี รง.506 ณ ก.ค. 55
สัดส่วนจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกแยกกลุ่มอายุพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2554 15-24 ปี 25-34 ปี 35-44 ปี 45-54 ปี 55-64 ปี 65+ ปี รง.506 ณ ก.ค. 55
สัดส่วนเพศผู้ป่วยไข้เลือดออกพื้นที่สาธารณสุขเขต 17พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2554
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกจำแนกรายอาชีพ พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2549 – พ.ศ.2553
พยากรณ์แนวโน้มของการเกิดโรคพยากรณ์แนวโน้มของการเกิดโรค โดยการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติชั้นสูง แบบอนุกรมเวลา (Time Series Analysis) จาก โมเดลของวินเตอร์ :Yt = [0 + 1t ] (St) (Ct) (I) เมื่อ t = ช่วงเวลาที่มีระยะห่างเท่า ๆ กัน Yt= ค่าจริงเมื่อเวลา t 0 = ระยะตัดแกน 1 = ค่าความชันของแนวโน้ม St = ค่าดัชนีที่เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลเมื่อเวลา t Ct = ค่าวัฏจักรรอบล่าสุด I = ค่าความไม่แน่นอน
การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือนการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปีพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 (ม.ค.2555 – ธ.ค. 2556)
เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกการพยากรณ์กับข้อมูล 506 ปี 2545 - 56
การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือนการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดอุตรดิตถ์ (ม.ค.2555 – ธ.ค. 2556)
การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือนการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดตาก (ม.ค.2555 – ธ.ค. 2556)
การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือนการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดสุโขทัย (ม.ค.2555 – ธ.ค. 2556)
การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือนการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดพิษณุโลก (ม.ค.2555 – ธ.ค. 2556)
การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือนการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดเพชรบูรณ์ (ม.ค.2555 – ธ.ค. 2556)
วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดโดยใช้แผนที่ทางภูมิศาสตร์ เทคนิคกระบวนการซ้อนทับข้อมูล(Overly Analysis)
แนวคิดการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง รง.506 ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำ (HI) GIS -ซ้ำซากในรอบ 5 ปี -ปี 54 ต่ำกว่าMin -ปี 54 สูงกว่า Median -การแพร่ระบาดไปพื้นที่ ข้างเคียง ปี 54 แยกออกเป็นรายอำเภอ 47 อำเภอ ฐานข้อมูลขอบเขตอำเภอ 47 อำเภอ Overlay Analysis พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก โอกาสสูง โอกาสสูงมาก/วิกฤต โอกาสน้อย โอกาสปานกลาง
อำเภอที่ผู้ป่วยไข้เลือดออกซ้ำซากในรอบ 5 ปี ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 • ปี พ.ศ. 2550 - 2554 ซ้ำซากในรอบ 5 ปี มีอัตราป่วยต่ำกว่ามัธยฐาน(5ปี)ของประเทศทุกปี มีอัตราป่วยสูงกว่ามัธยฐาน(5ปี)ของประเทศ 1 ปี มีอัตราป่วยสูงกว่ามัธยฐาน(5ปี)ของประเทศ 2 ปี มีอัตราป่วยสูงกว่ามัธยฐาน(5ปี)ของประเทศ 3 ปี มีอัตราป่วยสูงกว่ามัธยฐาน(5ปี)ของประเทศ 4 ปี มีอัตราป่วยสูงกว่ามัธยฐาน(5ปี)ของประเทศ 5 ปี
ผู้ป่วยไข้เลือดออกรายอำเภอ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 ปี พ.ศ. 2554 • เปรียบเทียบกับค่าต่ำสุดของรอบ 5 ปีก่อนหน้า (2549 – 2553) 54 ต่ำกว่า MIN ผู้ป่วยปี 54 สูงกว่าค่าต่ำสุด 5 ปี (49-53) ผู้ป่วยปี 54 ต่ำกว่าค่าต่ำสุด 5 ปี (49-53)
ผู้ป่วยไข้เลือดออกรายอำเภอ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 ปี พ.ศ. 2554 • เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี (2549 – 2553) 54 สูงกว่า Median ผู้ป่วยปี 54 สูงกว่าค่าต่ำสุด 5 ปี (49-53) ผู้ป่วยปี 54 ต่ำกว่าค่าต่ำสุด 5 ปี (49-53)
พื้นที่การแพร่ระบาดผู้ป่วยไข้เลือดออกรายอำเภอ พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 • ปี พ.ศ. 2554 ระดับการแพร่ข้างเคียง ปี 54 มีการระบาดของแต่ละตำบลมากกว่าร้อยละ 75 ปี 54 มีการระบาดของแต่ละตำบลระหว่างร้อยละ 50.01 ถึง 75 ปี 54 มีการระบาดของแต่ละตำบลระหว่างร้อยละ 25.01 ถึง 50 ปี 54 มีการระบาดของแต่ละตำบลร้อยละ 25 ลงมา
ดัชนีความชุกลูกน้ำยุลาย HouseIndex(HI) เฉลี่ยรายอำเภอ • พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 ปี พ.ศ. 2551 - 2554 ค่า HI เฉลี่ย 4 ปี(51-54) ต่ำกว่า 1 ค่า HI เฉลี่ย 4 ปี(51-54) ระหว่าง 1 ถึง 10 ค่า HI เฉลี่ย 4 ปี(51-54) สูงกว่า 10 ค่า HI เฉลี่ย 4 ปี(51-54)
สรุปพื้นที่เสี่ยงการเกิดโรคไข้เลือดออกรายอำเภอ พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 • ปี พ.ศ. 2554 พื้นที่เสี่ยง โอกาสน้อย โอกาสปานกลาง โอกาสสูง โอกาสสูงมาก/วิกฤต
สรุปผลการพยากรณ์อำเภอพื้นที่เสี่ยงการระบาดไข้เลือดออกสรุปผลการพยากรณ์อำเภอพื้นที่เสี่ยงการระบาดไข้เลือดออก • ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 ปี พ.ศ. 2555 ณ (ส.ค.55) Sensitivity = 10*100/25 = 40.00 % Predictive value of Positive = 10*100/23 = 43.48 % Accuracy = (10+9)*100/47 = 40.42 %
ข้อเสนอแนะ • ควรมีการติดตามประเมินผลการพยากรณ์โรคไข้เลือดออกว่ามีความแม่นยำถูกต้องหรือไม่และควรหาวิธีการพยากรณ์โรคที่เหมาะสมให้มากขึ้น • ควรนำวิธีการศึกษานี้ไปใช้ในพื้นที่ในระดับอำเภอ ตำบลหรือหมู่บ้านเพื่อให้พื้นได้ใช้ประโยชน์มากขึ้น • ควรมีการจัดอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องเพื่อให้งานพยากรณ์มีประสิทธิภาพมากขึ้น
มาตรการการป้องกันการระบาดของโรคมาตรการการป้องกันการระบาดของโรค • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ควรมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงการเกิดโรคของพื้นที่ เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนป้องกันโรคก่อนถึงฤดูกาลระบาด • ผู้บริหารหน่วยงานสาธารณสุขติดตามระบบเฝ้าระวังและเร่งรัดให้มีการขยายเครือข่ายการเฝ้าระวังโดยชุมชนเพื่อให้มีการแจ้งข่าวและรับทราบข่าวได้รวดเร็วเพื่อนำไปสู่การควบคุมโรค • อบรมแพทย์โดยเฉพาะอายุรแพทย์ ผู้มีบทบาทในการรักษาทั้งในภาครัฐ และเอกชน มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยไข้เลือดออก เนื่องจากพบผู้ป่วยในผู้ใหญ่มากขึ้น • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีบทบาทหน้าที่ในด้านการป้องกันควบคุมโรค • ให้ความรู้และสื่อสารความเสี่ยงให้ประชาชนได้รับทราบอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนัก และให้ความร่วมมือในการป้องกันโรค • ให้มีการเฝ้าระวังดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง