750 likes | 1.08k Views
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสาขาวิชา ประจำปีการศึกษา 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. วันอังคารที่ 20 พฤษภาคม 2557. ประเด็นนำเสนอ. 1. 2. 3. 1. ( ร่าง) เกณฑ์ การประกัน คุณภาพการศึกษาภายในรอบใหม่ (ปีการศึกษา 2557) งานมหกรรมอุดมศึกษาไทย 2557 (24 เมษายน 2557)
E N D
การประกันคุณภาพการศึกษาภายในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสาขาวิชา ประจำปีการศึกษา 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วันอังคารที่ 20 พฤษภาคม 2557
ประเด็นนำเสนอ 1 2 3
1 (ร่าง) เกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในรอบใหม่ (ปีการศึกษา 2557) งานมหกรรมอุดมศึกษาไทย 2557 (24 เมษายน 2557) ประชาพิจารณ์ (9 ครั้ง : เครือข่ายภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ : พฤษภาคม – มิถุนายน 2557)
เปรียบเทียบระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปรียบเทียบระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
กรอบแนวคิดระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2557
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้มาตรฐาน 1 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้พัฒนา 13 ตัวบ่งชี้ 1.1 ตัวบ่งชี้มาตรฐาน : 1 ตัวบ่งชี้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเช่น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 เกณฑ์การประเมิน : ประเมินรายหลักสูตร ผ่านและไม่ผ่าน หากไม่ผ่านเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ถือว่าหลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน (คะแนนเป็นศูนย์) และงดรับนักศึกษาในปีการศึกษาถัดไป
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ) ตัวบ่งชี้พัฒนา : 13 ตัวบ่งชี้ แบ่งตามระดับปริญญาตรี โท เอก
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ) อาจารย์ประจำสังกัดหลักสูตรหมายถึง อาจารย์ประจำที่ทำหน้าที่เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอนอื่นๆ ที่ได้รับการมอบหมายให้สอนในหลักสูตรนั้นๆ ในกรณีที่มีอาจารย์ประจำที่สอนมากกว่าหนึ่งหลักสูตรให้มีการกำหนดชื่อให้สังกัดเพียงหลักสูตรเดียวในระดับปริญญาตรี ยกเว้นหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับคณะ ประกอบด้วย : ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานระดับหลักสูตรและเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการในระดับคณะ จำนวน 8 ตัวบ่งชี้
2.8 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจและกลุ่มสถาบัน เกณฑ์มาตรฐาน 1. การจัดทำแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และกลุ่มสถาบัน 2. การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละหลักสูตร 3. การบริหารความเสี่ยงต่อปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานตามพันธกิจของคณะ 4. การบริหารอัตรากำลังและพัฒนาความรู้ความสามารถให้กับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน 5. การบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง 10 ประการ 6. การจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับสถาบัน ประกอบด้วย : ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานระดับหลักสูตร ระดับคณะ และเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการในระดับสถาบัน จำนวน 10 ตัวบ่งชี้
3.9 การบริหารของสถาบันเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจและกลุ่มสถาบัน เกณฑ์มาตรฐาน 1. การจัดทำแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และกลุ่มสถาบัน 2. การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละหลักสูตร 3. การบริหารความเสี่ยงต่อปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อคุณภาพการผลิตบัณฑิต 4. การบริหารอัตรากำลังและพัฒนาความรู้ความสามารถให้กับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน 5. การบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง 10 ประการ 6. การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพสถาบัน
2 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน
ตัวบ่งชี้ระดับสาขาวิชาตัวบ่งชี้ระดับสาขาวิชา • 8 ตัวบ่งชี้ • 2 ตัวบ่งชี้ • 2 ตัวบ่งชี้ • 4 ตัวบ่งชี้ • 1 ตัวบ่งชี้ • 1 ตัวบ่งชี้
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต จำนวน 8 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1: ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (ต่อ)
ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (ต่อ)
ข้อมูลประกอบการดำเนินงาน (ต่อ)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.7: การพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 : ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.9.1:ร้อยละของบัณฑิตที่เข้ามากรอกข้อมูลภาวะของการมีงานทำ การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : รายงานการติดตามผลผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2556 (กองบริการการศึกษาเป็นผู้สำรวจและประเมินผล)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.9.2 : บัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : รายงานการติดตามผลผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2556 (กองบริการการศึกษาเป็นผู้สำรวจและประเมินผล)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.10:คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : • ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) ข้อมูลประกอบการพิจารณา : รายงานผลการสำรวจคุณภาพของบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ปีการศึกษา 2556 (กองบริการการศึกษาเป็นผู้สำรวจและประเมินผล)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.13 :การพัฒนาคณาจารย์ การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : • ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดให้ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์เป็น 6 เท่ากับ 5 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • 1. รายชื่ออาจารย์ประจำทั้งหมด • 2. รายงานสรุปจำนวนอาจารย์ประจำ จำแนกตามวุฒิการศึกษา และตำแหน่งวิชาการ ปีการศึกษา 2556
องค์ประกอบที่ 3กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา จำนวน 2 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1:กลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) • หมายเหตุ : ถ้าไม่มีศิษย์เก่าอนุโลมให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 4
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 :กลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย จำนวน 4 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 :เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ การคิดรอบปี: จำนวนเงินใช้ปีงบประมาณ (1 ตุลาคม 2555 – 30 กันยายน 2556) จำนวนอาจารย์ประจำสาขาวิชาใช้ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : • 1. คำนวณจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย = • 2. แปลงจำนวนเงินที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ = หมายเหตุ :จำนวนอาจารย์ให้นับตามปีการศึกษา และนับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 :งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ การคิดรอบปี: การตีพิมพ์เผยแพร่ใช้ปีปฏิทิน (1 มกราคม 2556 – 31 ธันวาคม 2556) จำนวนอาจารย์ประจำสาขาวิชาใช้ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : • ใช้บัญญัติไตรยางค์เทียบ กำหนดร้อยละ 50 เท่ากับ 5คะแนน หมายเหตุ :จำนวนอาจารย์ให้นับตามปีการศึกษา โดยนับที่ปฏิบัติงานจริงและรวมผู้ลาศึกษาต่อ
ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน