1.66k likes | 3.49k Views
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน. ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. นิติภัทร อำพันมาก ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพท.ชุมพร เขต 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. จุดมุ่งหมาย. มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี. มีปัญญา. มีความสุข.
E N D
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นิติภัทร อำพันมาก ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพท.ชุมพร เขต 1
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จุดมุ่งหมาย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการเรียนต่อและประกอบอาชีพ
สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ความสามารถในการสื่อสาร 1 ความสามารถในการคิด 2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ อยู่อย่างพอเพียง 5 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1 มุ่งมั่นในการทำงาน 6 ซื่อสัตย์สุจริต 2 รักความเป็นไทย มีวินัย 7 3 มีจิตสาธารณะ 8 ใฝ่เรียนรู้ 4
คนดี คุณลักษณะตามหลักสูตร 2551 • รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ • ซื่อสัตย์สุจริต • มีวินัย • รักความเป็นไทย • มีจิตสาธารณะ
คุณลักษณะตามหลักสูตร 2551 คนเก่ง • ใฝ่รู้ใฝ่เรียน สมรรถนะตามหลักสูตร 2551 1. มีความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการคิด 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 4. มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
มีสุข คุณลักษณะตามหลักสูตรแกนกลางฯ • อยู่อย่างพอเพียง • ภูมิใจในตนเอง • มีความพึงพอใจในชีวิต • มีความสงบทางใจ • มุ่งมั่นในการทำงาน
วิกฤตการณ์ คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผลการสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2550-2552 50
ผลการสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2550-2552 50
ผลการสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2551-2552 45
ผลการสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2552 50
ผลการสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2551-2552 50
ผลการสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2552 50
? แล้วเราจะทำอย่างไร
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป้าหมาย สมรรถนะสำคัญ 1. การสื่อสาร 2. การคิด 3. การแก้ปัญหา 4. การใช้ทักษะชีวิต 5. การใช้เทคโนโลยี • - ระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน • การเรียนรู้ • จากครอบครัว • - การเรียนรู้นอกระบบ ภาษาไทย วิทย์ กิจกรรมแนะแนว คณิต สังคมฯ กิจกรรมนักเรียน สุขศึกษาฯ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มืวินัย 4. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ -การเรียนรู้ด้วยตนเอง - การเรียนรู้เฉพาะเรื่อง - ภูมิปัญญาชาวบ้านและ วัฒนธรรมท้องถิ่น ฯลฯ ศิลปะ กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ การงานฯ ภาษาต่างประเทศ กรอบแนวคิดการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประสบการณ์ ของผู้เรียน ความรู้+ทักษะ + เจตคติ
กิจกรรมตามความถนัด ความสนใจของผู้เรียน เป้าหมาย กิจกรรม ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นศท. กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน เป้าหมาย 5 สมรรถนะ + 8 คุณลักษณะ กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
กิจกรรมนักเรียน ขอบข่ายกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 • กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี • กิจกรรมยุวกาชาด • กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ • กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร - ด้านการศึกษา - ด้านอาชีพ - กิจกรรมชุมนุม ชมรม - ด้านส่วนตัวและสังคม - กิจกรรมจิตอาสา
หลักการ 1. กำหนดเป้าหมายของการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีหลักการสำคัญ 2. เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างรอบด้าน เต็มตามศักยภาพ 3. เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังและส่งเสริมจิตสำนึกในการบำเพ็ญตน ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 4. เป็นกิจกรรมที่ยึดหลักการมีส่วนร่วม
เป้าหมาย มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาตนเอง การสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี สมรรถนะ สำคัญ คุณลักษณะ อันพึง ประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
ให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสมัครใจ แนวทาง การจัด กิจกรรม ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมผ่านประสบการณ์ จัดกิจกรรมอย่างสมดุล จัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ดำเนินการ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1) กิจกรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น (120 ชม. / ปี) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม ดังนี้ 2.1 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 2.2 ชุมนุม ชมรม ผู้เรียนต้องเข้าร่วมและได้รับการประเมินกิจกรรมทั้ง 2.1 และ 2.2
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1) กิจกรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (360 ชม. / 3 ปี) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม ดังนี้ 2.1 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 2.2 ชุมนุม ชมรม ผู้เรียนสามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรม 2.1 หรือ 2.2อย่างใดอย่างหนึ่ง ได้ตามความเหมาะสม
แนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1) กิจกรมแนะแนว 1. กิจกรรมในห้องเรียน * กิจกรรมแนะแนว (กรณีมีครูแนะแนว) * โฮมรูม * ทักษะชีวิต ฯลฯ
1) กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมแนะแนวนอกห้องเรียน 2.1 พัฒนาระบบงานแนะแนว 2.2 บริการแนะแนว 5 บริการ * ศึกษาข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล * ให้คำปรึกษา * สนเทศ * จัดวางตัวบุคคล * ติดตามประเมินผล 2.3 อื่น ๆ เช่นปฐมนิเทศ / ปัจฉิมนิเทศ/กิจกรรมค่าย หรือกิจกรรมอื่นเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฯลฯ
2) กิจกรรมนักเรียน 2.1 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 2.2 ชุมนุม ชมรม (ควรจัดอย่างหลากหลาย ประถม-ม.ต้น ผู้เรียนต้องเข้าร่วม และได้รับการประเมินกิจกรรมทั้ง 2.1 และ 2.2
3 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ชุมชนและท้องถิ่น ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม
วัตถุประสงค์ • เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกให้ผู้เรียนในการบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคม ประเทศชาติ • เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ตามความถนัด ความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร • เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ • เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสาธารณะและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
เงื่อนไข • จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง • มีครูที่ปรึกษากิจกรรมทุกกิจกรรม • เน้นผู้เรียนเป็นผู้จัดกิจกรรม/รายงานตนเอง/ มีชิ้นงาน • จัดกิจกรรมเวลาใดก็ได้โดยไม่จำกัดเวลา/สถานที่/รูปแบบกิจกรรม
รูปแบบการจัดกิจกรรม รูปแบบที่ 1จัดทำโครงการให้ผู้เรียนเข้าร่วม นอกเหนือจากการเรียนปกติ (ซึ่งเป็นโครงการที่อยู่ในลักษณะเพื่อพัฒนาสังคมหรือสาธารณะประโยชน์) รูปแบบที่ 2 จัดทำเป็นกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม วันสำคัญทางราชการ หรือกิจกรรมที่นำนักเรียนออกทำประโยชน์ร่วมกับชุมชน หน่วยงานราชการหรือองค์กรต่าง ๆ รูปแบบที่ 3 จัดให้ผู้เรียนทำกิจกรรมตามความต้องการ โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ • สถานศึกษาจัดสรรเวลา • ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ • ประถมศึกษา (ป.๑-๖) รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐ ชั่วโมง • ม.ต้น (ม.๑-๓) รวม ๓ ปี จำนวน ๔๕ ชั่วโมง • ม.ปลาย (ม.๔-๖) รวม ๓ ปี จำนวน ๖๐ ชั่วโมง
โครงสร้างกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโครงสร้างกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ตัวอย่าง ประถมศึกษา 60
ตัวอย่าง มัธยมศึกษาตอนต้น- มัธยมศึกษาตอนปลาย 60 45
กรอบเวลาตามโครสร้างของหลักสูตรกรอบเวลาตามโครสร้างของหลักสูตร • สถานศึกษาจัดสรรเวลา • ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ • ประถมศึกษา (ป.๑-๖) รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐ ชั่วโมง • ม.ต้น (ม.๑-๓) รวม ๓ ปี จำนวน ๔๕ ชั่วโมง • ม.ปลาย (ม.๔-๖) รวม ๓ ปี จำนวน ๖๐ ชั่วโมง
การประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์การตัดสิน เกณฑ์การจบการศึกษา ประเมินรายกิจกรรม • ผ่าน • ไม่ผ่าน เวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน การปฏิบัติกิจกรรม ของผู้เรียน ผลงาน/ชิ้นงาน/ คุณลักษณะของผู้เรียน ในแต่ละระดับผู้เรียนต้องผ่าน ทั้ง 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้องบทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารสถานศึกษา กำหนดแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาให้ชัดเจน 1 สร้างความเข้าใจ ให้ครูทุกคนเห็นคุณค่า และร่วมมือในการจัดกิจกรรม 2 พัฒนา ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูมีความรู้ เชี่ยวชาญในการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย 3 สร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือ 4 นิเทศ ติดตาม ให้คำปรึกษา ประเมินผล และสร้างขวัญกำลังใจ 5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานที่ประสบผลสำเร็จ 6
บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้องบทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม ศึกษาแนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง ฯ 2551 1 ชี้แจงและทำความเข้าใจกับผู้เรียนและผู้ปกครอง 2 ร่วมกับผู้เรียนออกแบบกิจกรรม 3 ส่งเสริม กระตุ้น และอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนจัดกิจกรรม 4 ให้คำปรึกษา ดูแล ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินกิจกรรม 5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานที่ประสบผลสำเร็จ 6
บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้องบทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้เรียน ศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ตนเอง และเข้าร่วมกิจกรรมตามความสนใจ 1 ร่วมจัดทำแผนงาน โครงการ และปฎิบัติกิจกรรม ด้วยความเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ 2 ร่วมประเมินการปฎิบัติกิจกรรมและนำผลมาพัฒนาตนเอง 3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดประสบการณ์ และสะท้อนความรู้สึกหลังการปฏิบัติกิจกรรม 4 สร้างเครือข่ายจิตอาสาและขยายผลต่อยอดสู่ความยั่งยืน 5
บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้องบทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการสถานศึกษา ให้ความเห็นชอบและมีส่วนร่วมในการกำหนดวางแผนดำเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางฯ 2551 1 ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามความเหมาะสม 2
บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้องบทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดกิจกรรม และอาสาร่วมกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษาและชุมชน 1 ยอมรับในศักยภาพของผู้เรียน ให้โอกาสให้ผู้เรียนได้สำรวจตนเองเพื่อประกอบ การตัดสินใจในการเลือกแผนการเรียน การศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ 2 ดูแล เอาใจใส่ผู้เรียน และให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียน 3 เป็นที่ปรึกษาหรือแนะแนวทางการดำเนินชีวิตที่ดีงามให้แก่ผู้เรียน 4 ร่วมมือกับสถานศึกษาเพื่อติดตามประเมินผลและการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียน 5
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน องค์ความรู้ คนดี ทักษะ คนมีปัญญา ปฏิบัติกิจกรรม คนมีความสุข ประสบการณ์