580 likes | 846 Views
ACFTA. 1 กรกฎา : เปิดเสรีการค้า อาเซียน-จีน. ไพรัช บูรพชัยศรี สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 25 มกราคม 2548 โรงแรมดิ เอมเมอรัลด์. ส่วนที่ 1. การเปิดตลาด. ส่วนที่ 2. กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า. ส่วนที่ 3. มาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี. ส่วนที่ 4. ระบบตลาดของจีน. ส่วนที่ 5.
E N D
ACFTA 1กรกฎา : เปิดเสรีการค้าอาเซียน-จีน ไพรัช บูรพชัยศรี สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 25 มกราคม 2548 โรงแรมดิ เอมเมอรัลด์
ส่วนที่1 การเปิดตลาด ส่วนที่2 กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ส่วนที่3 มาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี ส่วนที่4 ระบบตลาดของจีน ส่วนที่5 การเตรียมความพร้อมของเอกชน
ส่วนที่1 การเปิดตลาด
ประโยชน์จากการทำFTA การเจรจา เปิดเสรีการค้า ภายใต้กรอบ มีความคืบหน้าช้า ผลักดันให้ประเทศ คู่เจรจา เร่งลดภาษีโดยเร็ว FTA WTO
อาเซียน-จีน การเจรจาลดภาษี สินค้าเร่งลดภาษี(Early Harvest) สำหรับสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ กัมพูชา-ลาว-พม่า-เวียดนาม ภาษีจะเหลือ 0% ในปี 2553
อาเซียน-จีน การเจรจาลดภาษี กลุ่มสินค้า พิกัดศุลกากร 01-08 ตอนที่ 01สัตว์มีชีวิต ตอนที่02เนื้อสัตว์และส่วนอื่นของสัตว์ที่บริโภคได้ ตอนที่03ปลาและสัตว์น้ำ ตอนที่04ผลิตภัณฑ์จากนม ตอนที่05 ผลิตภัณฑ์จากสัตว์อื่น ตอนที่06ต้นไม้และพืชอื่นๆ ดอกไม้และใบไม้ ตอนที่07ผักผลไม้ใช้บริโภค ตอนที่08ผลไม้/ลูกนัตที่บริโภคได้ ผลไม้จำพวกส้ม
มูลค่าการส่งออก-นำเข้า ไทย – จีน สินค้าเกษตรตอนที่ 01-06 หลังเริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 2547 ที่มา : กรมศุลกากร รวบรวมโดยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ดุลการค้า ม.ค. – ก.ย. 47: +232 ล้านบาท
อาเซียน-จีน การเจรจาลดภาษี แนวทางการลดภาษีสำหรับสินค้าลดภาษีปกติ(Normal Track) กำหนดเริ่มลดภาษี วันที่ 1 กรกฎาคม 2547 โดยจะมีสินค้าไม่เกิน 150รายการ ที่จะลดเหลือ 0% ใน ปี 2555 สำหรับอาเซียน 4 จะลดเหลือ 0% ในปี 2558 โดยจะมีสินค้าไม่เกิน 250 รายการที่จะลดเหลือ 0% ใน ปี 2561
อาเซียน-จีน การเจรจาลดภาษี ประเด็น ในกรอบอาเซียน (CEPT) อาเซียน-6 จะเหลือ 0% ทั้งหมด ตั้งแต่ปี 2553 แต่กรอบอาเซียน-จีนจะมี 150 รายการ ภาษีเหลือ 5% และจะลดเหลือ 0% ในปี 2555 ดังนั้น 150 รายการนี้ จึงเสมือนเป็นการลดระหว่างอาเซียน-6 กับจีนเท่านั้น เนื่องจากอาเซียนมีสิทธิ์เลือกส่งออกด้วยการใช้ภาษี CEPTที่มี่อัตราต่ำกว่า เช่นเดียวกับอาเซียน-4 ในกรอบอาเซียน (CEPT)ภาษีจะเหลือ 0% ทั้งหมดในปี 2558 แต่กรอบอาเซียน-จีนจะมี 250 รายการ ภาษีเหลือ 5% และจะลดเหลือ 0% ในปี 2561
อาเซียน vs อาเซียน-จีน 2553 2010 2555 2012 2558 2015 2561 2018 2559 2016 2560 2017 2554 2011 2003 ASEAN-China ASEAN 4: 250 รายการ ภาษี = 0% CEPT ASEAN 4: 100% = 0 CEPT ASEAN 6: 60% = 0 5,436รายการ CEPT ASEAN 6: 100% = 0 9,140 รายการ ASEAN-China ASEAN 6: 150 รายการ ภาษี = 5% ASEAN-China ASEAN 4: 250 รายการ ภาษี = 5% ASEAN-China ASEAN 6: 150 รายการ ภาษี = 0%
อาเซียน-จีน การเจรจาลดภาษี สินค้าอ่อนไหว (Sensitive) กำหนดจำนวนรายการไม่เกิน 400 รายการ และไม่เกินร้อยละ 10 ของมูลค่านำเข้า ตัวอย่างรายการสินค้า ของไทย อาหารสุนัข แมว และ สัตว์อื่นๆ รองเท้า กระเบื้อง ตัวอย่างรายการสินค้า ฃองไทย สินค้าอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive) กำหนดจำนวนรายการไม่เกิน 100 รายการ นมและผลิตภัณฑ์นม กาแฟ ไหมดิบ หินอ่อน หินแกรนิต
อาเซียน-จีน การเจรจาลดภาษี ตัวอย่างรายการสินค้าอ่อนไหวของจีน ที่ประเทศไทยต้องการให้จีนถอนออก เนื่องจากเป็นสินค้าที่ไทยมีศักยภาพในการแข่งขัน แป้งข้าว พิกัด 1102.30 ลำไยกระป๋อง พิกัด 2008.99 สับปะรดกระป๋อง พิกัด 2008.20 น้ำสับปะรด พิกัด 2009.40
อาเซียน-จีน การเจรจาลดภาษี ประเด็นที่ต้องคำนึง • 1. แนวทางการลดภาษีภายใต้ FTAควรต้องสอดคล้องกับโครงสร้างภาษีภายในของไทย • ปี 2548 ภาษีสิ่งทอของไทยจะปรับลดเหลือ 1-5% ตามโครงสร้างภาษี แต่ภาษีนำเข้าของจีนยังอยู่ที่ประมาณ 20% ดังนั้น การลดภาษีตามแนวทางที่ตกลงกันในกรอบ FTAอาจทำให้ไทยเสียเปรียบจีนได้ เนื่องจากภาษีปีแรกและปีที่ 2 ของจีนจะยังคงสูงกว่าไทยมาก ขณะสินค้าเครื่องนุ่งห่มภาษีเฉลี่ยยังอยู่ที่ประมาณ 30%
อาเซียน-จีน การเจรจาลดภาษี ประเด็นที่ต้องคำนึง 2. การลดภาษีสินค้าสำเร็จรูปและวัตถุดิบของสินค้าสำเร็จรูปนั้นควรสอดคล้องกัน การลดภาษีเร่งด่วนสำหรับสินค้าปศุสัตว์ พิกัด 02 ซึ่งเริ่มตั้งแต่ต้นปี 2547 ขณะที่วัตถุดิบอาหารสัตว์ยังคงมี ภาษีสูงอยู่ ทำให้เกิดภาระต้นทุนกับผู้ส่งออก
อาเซียน-จีน การเจรจาลดภาษี ประเด็นที่ต้องคำนึง อาเซียนและจีนตกลงที่จะมีบัญชีรายการสินค้าอ่อนไหวแบบ 10 ต่อ 1 จีนมีรายการสินค้าอ่อนไหว 1 บัญชี ใช้กับ 10 ประเทศอาเซียน แต่ 10 ประเทศอาเซียนจะมีบัญชีรายการสินค้าอ่อนไหวของตนเองกับจีน 3. จีนอาจส่งออกรายการสินค้าอ่อนไหวของไทยผ่านไปยังประเทศอาเซียนอื่นๆ เพื่อส่งออกต่อมายังประเทศไทยได้ 4. จีนอาจใช้ประโยชน์จากหลักกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนแบบใหม่ เพื่อให้สามารถขายสินค้าอ่อนไหวในอาเซียนได้ง่ายขึ้น
อาเซียน-จีน การค้าบริการ ข้อเรียกร้องของไทยให้จีนเปิดตลาด Tour Operation ภัตตาคาร ร้านอาหาร การจัดจำหน่ายในทุกรูปแบบ
ไทย-จีน สาขาที่คาดว่าไทยจะได้รับประโยชน์ - ข้าว น้ำตาล ยางพารา ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง กุ้งสด ผลิตภัณฑ์เหล็ก ยานยนต์และชิ้นส่วน อัญมณี ผักและผลไม้เมืองร้อน เม็ดพลาสติก - การลงทุน - การบริการศึกษา การท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง สาขาที่ไทยอาจได้รับผลกระทบ - ผักและผลไม้บางชนิด เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์จากหนัง รองเท้า เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ เนื้อสัตว์
มูลค่าการส่งออก-นำเข้า ไทย – จีน สินค้าเกษตร ตอนที่ 07-08 หลังเริ่มลดภาษีเหลือ 0% วันที่ 1 ต.ค. 2546 ที่มา : กรมศุลกากร รวบรวมโดยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ดุลการค้า 07-08 ต.ค. 46 – ก.ย. 47: +6,824 ล้านบาท ดุลการค้า 07-08 (ไม่รวมมันสำปะหลัง) ต.ค. 46 – ก.ย. 47: -1,327 ล้านบาท
กราฟแสดงการเปรียบเทียบมูลค่าการส่งออก-นำเข้ากราฟแสดงการเปรียบเทียบมูลค่าการส่งออก-นำเข้า พิกัด 07-08 ระหว่าง ไทย-จีน (ต.ค.46-ก.ย.47) ล้านบาท
การออกหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า Form C/O-Form E พิกัด 01-08 ไปประเทศจีน ต.ค. 2546 – ต.ค. 2547 ฉบับ ปริมาณ (ล้านตัน) ล้านเหรียญสหรัฐ ล้านบาท 14,848 3.15 365.82 14,638 ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
สถิติการค้าระหว่างไทย-จีนสถิติการค้าระหว่างไทย-จีน ที่มา: Global Trade Atlas (2004)รวบรวมโดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ส่วนที่2 กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า
อาเซียน-จีน กฎแหล่งกำเนิดสินค้า สินค้าทั่วไป • ใช้วัตถุดิบทั้งหมดในประเทศไทยหรืออาเซียน หรือ • Local Content 40% สินค้าบางรายการ กรณีไม่สามารถผลิตได้ Local Content 40% กำหนดให้สามารถใช้หลักเกณฑ์เฉพาะ (ProductSpecific Rule) ได้ ซึ่งจะเปลี่ยนมาใช้วิธีการเปลี่ยนพิกัดแทน สถานะปัจจุบัน อยู่ระหว่างการพิจารณากำหนดรายการสินค้าที่จะใช้หลักเกณฑ์เฉพาะ โดยเบื้องต้นไทยได้เสนอ สินค้าสิ่งทอ ประมงแปรรูป อัญมณี เหล็ก
กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ...แบบเดิม สมาชิกอาเซียนสามารถนำราคาของสินค้าหรือวัตถุดิบที่ซื้อจากประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นมาสะสมได้ ถ้าประเทศสมาชิกที่ส่งออกนั้นผลิตสินค้าหรือ วัตถุดิบได้ Local Content 40%โดยการสะสมจะสามารถสะสมได้ตามมูลค่าจริงที่ซื้อมา (เต็มมูลค่า) และประเทศสมาชิกที่ส่งออกสินค้าหรือวัตถุดิบนั้น จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามที่ตกลงกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน (CEPT Rate) สมาชิกอาเซียนไม่สามารถนำราคาของสินค้าหรือวัตถุดิบที่ซื้อจากประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นมาสะสมได้ ถ้าประเทศสมาชิกที่ส่งออกนั้นผลิตสินค้าหรือ วัตถุดิบได้ Local Content ไม่ถึง40%
กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ...แบบใหม่ สมาชิกอาเซียนสามารถนำราคาของสินค้าหรือวัตถุดิบ ที่ซื้อจากประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นมาสะสมได้ ถ้าประเทศสมาชิกที่ส่งออกนั้นผลิตสินค้าหรือ วัตถุดิบได้ Local Content 20-39%โดยการสะสมจะสามารถสะสมได้ตามสัดส่วนของ Local Contentที่ทำได้ แต่ประเทศสมาชิกที่ส่งออกสินค้าหรือวัตถุดิบ นั้น จะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามที่ตกลงกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน (CEPT Rate)
กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ...แบบใหม่ ผลเสีย • ทำให้การใช้สัดส่วนวัตถุดิบที่ผลิตในอาเซียนลดลง เนื่องจากสามารถนำเข้าจากต่างประเทศมาสะสมได้ • เปิดโอกาสให้มีการทุ่มตลาดได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะการทุ่มตลาดไปยังประเทศที่มีโครงสร้างอัตราภาษีต่ำ เนื่องจากไม่ต้องการเสียประโยชน์จากการไม่ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษี • เปิดโอกาสให้มีการปลอมแปลงแหล่งกำเนิดสินค้าได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมีเอกสารที่เกี่ยวข้องมากขึ้น ทำให้การตรวจสอบทำได้ยากลำบากกว่าเดิม • ไม่เป็นการสนับสนุนให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เพื่อให้สามารถผลิตได้ครบวงจร
กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ...แบบใหม่ ผลดี • ช่วยเพิ่มปริมาณการค้าในภูมิภาค เนื่องจากสามารถนำวัตถุดิบที่มี ASEAN Contentน้อยกว่า 40% มาสะสมเพื่อผลิตเป็นสินค้าขั้นต่อไปได้ โดยจะทำให้ได้ Local Content 40%ง่ายขึ้น • ธุรกิจขนาดเล็กและกลางที่ไม่สามารถผลิตสินค้าครบวงจรได้ จะมีโอกาสขายสินค้าที่เป็นวัตถุดิบขั้นกลางได้มากขึ้น
กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ...แบบใหม่ ประเด็นที่ต้องคำนึง กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนแบบใหม่จะช่วยให้ประเทศในอาเซียนมีศักยภาพในการแข่งขันกับประเทศที่มีขนาดใหญ่มากขึ้น อาทิ ประเทศจีน จริงหรือไม่ ?
กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ...แบบใหม่ ประเด็นที่ต้องคำนึง หากประเทศจีนยอมรับสินค้าสำเร็จรูปจากประเทศในอาเซียนซึ่งใช้วิธีการผลิตโดยการสะสมวัตถุดิบระหว่างกันตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมแบบใหม่ อาเซียนอาจได้ประโยชน์ หากประเทศจีนไม่ยอมรับ หรือ ต้องการมีส่วนร่วมในการใช้กฎนี้ด้วย ? อาเซียนจะได้ประโยชน์หรือไม่
กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ...แบบใหม่ ประเด็นที่ต้องคำนึง หากจีนส่งออก (ทุ่มตลาด) วัตถุดิบขั้นต้นซึ่งมีราคาต่ำมากๆ มาให้ประเทศอาเซียนหนึ่งผลิตเพียงเล็กน้อย เพื่อให้ได้ Local Content 20% และส่งออกไปยังอีกประเทศอาเซียนหนึ่งใช้สะสม เพื่อผลิตต่อให้ได้ Local Content 40%ส่งออกเป็นสินค้าสำเร็จรูปมาตีตลาดในประเทศอาเซียนอีกประเทศหนึ่งได้ ? อาเซียนอาจเสียประโยชน์
กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียนกฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ...แบบใหม่ ประเด็นที่ต้องคำนึง ในอนาคต...หากมีการลดสัดส่วนขั้นต่ำ Local Content ที่สามารถนำมาสะสมได้ให้เหลือน้อยกว่า 20% จะทำให้เกิดการทุ่มตลาด (จากจีน) ได้ง่ายขึ้นหรือไม่ ? กรมการค้าต่างประเทศ กำหนดจัดสัมมนา วันที่ 21 ธ.ค. 2547 ที่ชั้น 8
ส่วนที่3 มาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี
ประโยชน์จากการทำ FTA การเจรจาแก้ไข ปัญหา NTBs ในกรอบ ใช้เวลานานต้องเจรจาพร้อมกัน หลายประเทศ ผลักดันให้ประเทศ คู่เจรจา แก้ไขปัญหา NTBs สองฝ่าย ได้อย่างรวดเร็ว FTA WTO
SPS Rules of Origin TBT 1 9 Subsidies & Counter vailing 2 Import Licensing 8 3 NTMs NTMs NTMs 7 Anti dumping 4 Customs Valuation 6 5 Safe guard Pre-shipment Inspection Non-Tariff Measure NTMs F T A
NTBs NTBs NTBs NTBs ปัญหาการค้าระหว่างไทย-จีน ในประเทศ 1. ต้องผ่านบริษัทที่เป็นของคนจีน/ต้องขอใบอนุญาตนำเข้า (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 2547 จีนให้สิทธิผู้ส่งออก/ นำเข้าของจีนดำเนินธุรกิจกับต่างประเทศได้โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านบริษัทนำเข้า-ส่งออก) ภาษี พรม แดน 0% 2. ขั้นตอนในการขอใบอนุญาตนำเข้าใช้เวลานานกว่า 30 วัน ผัก ผลไม้ 3. ต้องมีการขึ้นทะเบียนสวนผลไม้ทุเรียนและมะม่วง 4. ต้องขอใบอนุญาตด้านสุขอนามัย (Inspection Quarantine License)ซึ่งใช้เวลานาน 30 วัน และมีอายุ 3 เดือน ซึ่งแต่ละมณฑลจะเข้มงวดในการตรวจไม่เท่ากัน 5. ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบย่อยของการนำเข้าใน 27 มณฑล 4 เมืองใหญ่ เร่งศึกษาผลกระทบจากกฎหมายการค้าฉบับใหม่ของจีน
ความคืบหน้าการหารือด้านเกษตรระหว่างไทย-จีนความคืบหน้าการหารือด้านเกษตรระหว่างไทย-จีน SPS ไทยและจีนร่วมกันจัดตั้งคณะกรรมการด้านเทคนิค เพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าสินค้าผักและผลไม้ • แลกเปลี่ยนข้อมูลด้านโรคและแมลง • จัดทำพิธีสารรายสินค้า (ไทยขอเพิ่มมังคุด ลำไย ลิ้นจี่ • จากเดิมมีแค่ทุเรียนและมะม่วง) • ขอไม่จำกัดจำนวนสวนที่จะส่งออกทุเรียนและมะม่วง • แลกเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ตรวจสอบสินค้า กักกันโรคแลแมลง ไปประจำ ทั้ง 2 ประเทศ เพื่อตรวจสอบสินค้าก่อนการส่งออก ซึ่งจะทำให้สินค้าเกษตรทั้ง 2 ฝ่ายผ่านในช่องทางพิเศษ ณ จุดนำเข้ารวดเร็วขึ้น โดยเฉพาะจุดนำเข้า • 1. เทียนสิน 2. ปักกิ่ง 3. เซี่ยงไฮ้ และ 4. กวางโจว
FTAไทย-จีน : ผลกระทบต่อกระเทียมไทย จากข้อมูลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สถานการณ์กระเทียมไทยในภาพรวมไม่น่าวิตก เนื่องจาก • ตามข้อผูกพัน WTO กระเทียมเป็นสินค้าเกษตรที่มีการจำกัดปริมาณการนำเข้าในปี 2547 จำนวน 65 ตัน อัตราภาษีในโควตา 27% (แต่จากจีน 0%) อัตราภาษีนอกโควตา 57% • ถึงแม้ว่ากระเทียมจีนจะมีราคาต่ำกว่าของไทย แต่เนื่องจากต้นทุนการผลิตในปีนี้ของไทยลดลง ~20%ทำให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น เกษตรกรจึงมีรายได้เป็นที่น่าพอใจ • ภาครัฐโดยกระทรวงเกษตรฯมี “โครงการลดพื้นที่ปลูกกระเทียมปีเพาะปลูก 2546/2547” เพื่อรักษาระดับราคาไม่ให้ตกต่ำ โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการกว่า 6,000 ราย และได้รับเงินชดเชยในการลดพื้นที่ปลูกพืชอื่นทดแทน โดยการปลูกพืชล้มลุกได้รับไร่ละ1,500 บาท ไม้ผล ไม้ยืนต้น ไร่ละ 2,000 บาท
แนวทางการปรับตัว มาตรการด้านผักและผลไม้ 1. วิจัยและพัฒนาพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และผลิตภัณฑ์ 2. พัฒนาการจัดการฟาร์ม 3. ส่งเสริมสินค้าที่ได้เปรียบ 4. ควบคุมดูแลและป้องกันโรคต่างๆ ของพืช 5. เพิ่มขีดความสามารถในการปรับเปลี่ยนพืชที่ปลูก ที่มา : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ส่วนที่4 ระบบตลาดของจีน
การยอมรับระบบตลาดของจีนการยอมรับระบบตลาดของจีน (Market Economy) ความเป็นมา • สหรัฐฯ และประเทศพัฒนาอื่นๆ ได้มีพันธกรณีพิเศษกับจีนในเรื่องของการยอมรับสถานะของจีนก่อนให้จีนเข้า WTO คือ ต้องการให้จีนเป็น Non-Market Economy • พันธกรณีนี้จะทำให้สมาชิกสามารถใช้ 4 มาตรการกับจีน ได้ง่ายกว่า • 1. มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (Anti Dumping : AD) • 2. มาตรการตอบโต้การอุดหนุน (Countervailing Duty : CVD) • 3. มาตรการปกป้อง (Safeguard : SG) • 4. มาตรการปกป้องสินค้าสิ่งทอ
การยอมรับระบบตลาดของจีนการยอมรับระบบตลาดของจีน (Market Economy) ความเป็นมา • การเจรจา FTAอาเซียน-จีน จีนได้ขอให้อาเซียนปฏิบัติต่อจีนในลักษณะ Market Economyไม่ใช่ Non Market Economy • ล่าสุดอาเซียนยอมรับสถานะของจีนจาก Non Market Economyเป็น Full Market Economy
การยอมรับระบบตลาดของจีนการยอมรับระบบตลาดของจีน (Market Economy) ผลกระทบจากการยอมรับจีนเป็น Full Market Economy
การยอมรับระบบตลาดของจีนการยอมรับระบบตลาดของจีน (Market Economy) ผลกระทบจากการยอมรับจีนเป็นFull Market Economy
การยอมรับระบบตลาดของจีนการยอมรับระบบตลาดของจีน (Market Economy) ผลกระทบจากการยอมรับจีนเป็นFull Market Economy • กรณีปริมาณสินค้าสิ่งทอและเสื้อผ้าที่นำเข้าจากจีนมีปริมาณสูงขึ้นจนอาจส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมภายใน
ส่วนที่5 การเตรียมความพร้อมของภาคเอกชน
แนวโน้มของธุรกิจวันนี้แนวโน้มของธุรกิจวันนี้ มาตรฐาน มาตรฐาน ธุรกิจต้องปรับปรุงมาตรฐาน หน่วยงานตรวจสอบ มาตรการ