240 likes | 422 Views
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด. ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผล การปฏิบัติราชการ”. โดย สำนักงาน ก.พ.ร. วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม 2551.
E N D
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผล การปฏิบัติราชการ” โดย สำนักงาน ก.พ.ร. วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม 2551
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด หัวข้อ แนวคิดการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม(Participatory Governance) การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ ร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด แนวคิดการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม(Participatory Governance) 1
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม(Participatory Governance) หมายถึง แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ที่จัดระบบการบริหารราชการขั้นตอน/วิธีการทำงาน วัฒนธรรมการทำงาน และโครงสร้างการบริหารราชการที่เอื้อต่อการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation)เปิดเผย โปร่งใส และประชาชนเป็นศูนย์กลาง
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม โครงสร้างองค์การ วิธีการปฎิบัติงาน วัฒนธรรมการทำงาน ออกกฎระเบียบ/นโยบาย สร้างบุคลากรด้านการมีส่วนร่วม • การบริหารราชการในรูปแบบใหม่ ประกอบด้วยภาครัฐและภาคประชาชนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เข้ามาร่วมในกระบวนการตัดสินใจ การดำเนินงาน และการประเมินผล • หน่วยงานมีการปรับเปลี่ยน
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation) หมายถึง “กระบวนการที่ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน มีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา/ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมในการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุ้นส่วนการพัฒนา”
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน Public Participation Spectrum International Association For Public Participation ประชาชนมีบทบาทหรืออิทธิพลเพิ่มขึ้นตามระดับการมีส่วนร่วม เกี่ยวข้อง Involve ให้ข้อมูล ข่าวสาร Inform รับฟัง ความคิดเห็น Consult รับฟัง ความคิดเห็น Consult ร่วมมือ Collaborate เสริมอำนาจ ประชาชน Empower ร่วมทำ รับรู้ ให้ความเห็น ร่วมตัดสิน รับรู้ ร่วมคิด ร่วมตรวจสอบ เป็นเจ้าของ ที่มา: Public Participation Spectrum ,พัฒนาโดย International Association for Public Participation (IAP2)
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด เสริมพลังอำนาจให้ประชาชน (Empower) International Association For Public Participation ร่วมมือร่วมแรง (Collaboration) ระดับการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมสูงขึ้น เกี่ยวข้องมีบทบาท(Involve) ตัดสินใจเอง ฟังความคิดเห็น (Consult) เข้าร่วมทำงานด้วย สมัครใจเข้าร่วม แบ่งปันข้อมูลข่าวสาร (Inform) ร่วมแสดงความเห็น รับฟังเรียนรู้ การมีส่วนร่วมของประชาชน
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2 ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบ ผลการปฏิบัติราชการ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด • มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล • ตามแผนปฏิบัติราชการ • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ • ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด • มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพ • การให้บริการ • คุณภาพการให้บริการ • การมีส่วนร่วมของประชาชน • ความเปิดเผย โปร่งใส • มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพ • ของการปฏิบัติราชการ • ประสิทธิภาพการตรวจสอบภายใน • ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการ • ให้บริการ • มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร • การบริหารจัดการองค์กร (PMQA)
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด • คุณภาพการให้บริการ (9) • การมีส่วนร่วมของประชาชน (4) • ความเปิดเผย โปร่งใส (7)
ระดับคะแนน 5 กำหนดแนวทางการบริหาร แบบมีส่วนร่วมปีต่อไป ระดับคะแนน 4 รายงานต่อสาธารณะและ นำไปปรับปรุงงานของส่วนราชการ) ระดับคะแนน 3 ดำเนินการตามแผน และร่วมติดตามความก้าวหน้า ระดับคะแนน 2 มีช่องทางรับพังความคิดเห็น ในประเด็ฯที่เลือก และ จัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม ระดับคะแนน 1 - มีคณะทำงานภาคประชาชน - หารือ เลือกประเด็ฯ การพัฒนาเกณฑ์การประเมินผล ตัวชีวัดการมีส่วนร่วมของประชาชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 แนวทางการมีส่วนร่วม ของประชาชนในปีต่อไป ตัวชี้วัดปี 52 ตัวชี้วัดปี 51 ระดับคะแนน 4 สรุปผล รายงานความก้าวหน้า และเผยแพร่ ระดับคะแนน 3 ดำเนินการตามแผน และร่วมติดตามผลการดำเนินงาน ระดับคะแนน 2 มีช่องทางรับพังความคิดเห็น และ จัดทำแผนโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ระดับคะแนน 1 กำหนดประเด็นมีคณะที่ปรึกษา/คณะทำงานภาคประชาชน และจัดทำกรอบแนวทาง/กรอบแนวคิด เน้นการสร้างและพัฒนาระบบ/กลไกที่มีอยู่เดิม + เพิ่มคุณภาพในการทำงานร่วมกับภาคประชาชน เน้นการพัฒนารูปแบบ/วิธีการในการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม และการทำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชน ที่มีความคล่องตัว
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด รายละเอียดตัวชี้วัด มิติที่ 2ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน ตัวชี้วัดที่ 6 : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ ร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของจังหวัด รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6: ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ ร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏฺบัติราชการ” • น้ำหนักร้อยละ 4 • คำอธิบาย พิจารณาจากกระบวนการบริหารราชการ และการปฏิบัติราชการของจังหวัด เพื่อกระตุ้นการปรับระบบราชการสู่การบริหารราชการที่เปิดเผย โปร่งใส เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และพัฒนาระบบราชการเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6: ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏฺบัติราชการ • คำอธิบาย (ต่อ) การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง กระบวนการที่ประชาชน และ ผู้ที่เกี่ยวข้องมีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา/ประเด็นที่สำคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมแก้ไขปัญา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วมกระบวน การพัฒนาในฐานะหุ้นส่วน • ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน มี 5 ระดับ คือ • ระดับการให้ข้อมูล • ระดับการปรึกษาหารือ • ระดับการเข้ามาเกี่ยวข้อง • ระดับการร่วมมือ • ระดับการเสริมอำนาจประชาชน
ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) เกณฑ์การให้คะแนน : กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ระดับคะแนน 1 2 3 4 5
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6: ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏฺบัติราชการ พิจารณากำหนดประเด็นที่จะนำมาเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตาวจสอบผลการปฏิบัติราชการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดยวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณากำหนดประเด็น ที่แสดงเหตุผล หรือความเหมาะสมในการกำหนดประเด็น จัดให้มีคณะที่ปรึกษาภาคประชาชน/คณะทำงานภาคประชาชน ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนของส่วนราชการในจังหวัดและผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่กำหนด ระดับคะแนน 1 จัดทำกรอบแนวคิด/กรอบแนวทาง ที่เหมาะสมในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดยนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นมาใช้ประกอบด้วย
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6: ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏฺบัติราชการ พิจารณากำหนดประเด็นที่จะนำมาเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม โดยวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณากำหนดประเด็น ที่แสดงเหตุผลหรือความเหมาะสมในการกำหนดประเด็น ดังนี้ 1) นำแนวทาง/แผนการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมที่ได้จัดทำไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 มาพิจารณาประกอบการกำหนดประเด็นฯและ 2)วิเคราะห์ภารกิจหลักหรือยุทธศาสตร์ที่สำคัญ ที่เหมาะสมในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดยระบุหรือเจาะจงกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ตามภารกิจหลักหรือยุทธศาสตร์ที่สำคัญดังกล่าว อย่างชัดเจน หรือ 3) ทบทวนข้อมูลผลการดำเนินงานในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในปีที่ผ่านมา เพื่อประกอบการกำหนดประเด็นฯ ระดับคะแนน 1
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6: ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏฺบัติราชการ จัดให้มีช่องทาง/กระบวนการ/วิธีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่กำหนด และสรุปผลความคิดเห็นที่ได้จากประชาชนและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องดังกล่าว จังหวัดและคณะที่ปรึกษาภาคประชาชน/คณะทำงานภาคประชาชนร่วมกันจัดทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดยมีความสอดคล้องกับกรอบแนวคิด/กรอบแนวทางที่ได้จัดทำไว้ในระดับคะแนนที่ 1 รวมทั้งนำสรุปผลความคิดเห็นฯ มาใช้ประกอบในการจัดทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการดังกล่าว ได้แล้วเสร็จและรายงานผู้ว่าราชการจังหวัดภายในมีนาคม 2552โดยแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการฯ มีการระบุวัตถุประสงค์ กิจกรรม ระยะเวลาการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย ผู้ร้บผิดชอบ ตัวชี้วัดความสำเร็จและเป้าหมายที่สามารถวัดและประเมินผลได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม ระดับคะแนน 2
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6: ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏฺบัติราชการ ดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ/แผนปฏฺบัติการฯ ได้แล้วเสร็จครบถ้วน โดยมีการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินตามแนวทางที่กำหนดไว้ในแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการฯ ในระดับคะแนน 2 อย่างสม่ำเสมอ และมีการจัดทำรายงานสรุปผลความก้าวหน้าในการดำเนินการเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัด และสื่อสารให้ประชาชนและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง ระดับคะแนน 3
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6: ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏฺบัติราชการ จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการฯ ซึ่งระบุปัจจัยสนับสนุน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ โดยให้ความสำคัญกับการเปิดโอกาสให้ประชาชนเช้ามามีส่วนร่วม ระดับคะแนน 4 เผยแพร่สรุปผลการดำเนินงานในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ให้ประชาชนและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องรับทราบ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6: ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏฺบัติราชการ จัดทำแนวทาง และข้อเสนอแนะของการดำเนินงานในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในปีต่อไป เสนอต่อผู้บริหารของส่วนราชการและได้รับความเห็นชอบ ระดับคะแนน 5
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6: ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏฺบัติราชการ • เงื่อนไข • ในกรณีที่จังหวัดไม่ได้จัดทำแนวทาง/แผนบริหารราชการแบบมี ส่วนร่วมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ไว้ให้จังหวัดจัดทำแนวทาง/ แผนบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมขึ้น เพื่อประกอบการวิเคราะห์กำหนดประเด็นที่จะนำมาเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในระดับคะแนนที่ 1 • กรอบแนวคิด/กรอบแนวทางที่เหมาะสมในการเปิดโอกาสให้ประขาชนเข้ามามีส่วนร่วมจะต้องกำหนดระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนไม่ต่ำกว่า ระดับการเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งหากต่ำกว่าจะถูกปรับลด 0.2500 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้ • จังหวัดต้องดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการ • ในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ประจำปีงบประมาณ • พ.ศ. 2552 ในระดับคะแนน 3 ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป จึงจะพิจารณาระดับคะแนน 4 และ 5
Q&Aติดต่อสอบถามเพิ่มเติมกลุ่มพัฒนาระบบสนับสนุนการมีส่วนร่วม ฯโทร. 0 2356 9906 , 0 2356 9949