180 likes | 320 Views
โดย ดร . สุมิท แช่มประสิทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานชุมชนพอเพียง 9 มีนาคม 2552. เศรษฐกิจพอเพียง ทางออกการกู้วิกฤติเศรษฐกิจชาติ. นายกรัฐมนตรีกล่าวที่ World Economic Forum นักเศรษฐศาสตร์รางวัล Nobel หลายท่าน เห็นตรงกันว่า... “ หัวใจ การเข้าถึงความสามารถ การพัฒนาเศรษฐกิจโลก
E N D
โดย ดร.สุมิท แช่มประสิทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานชุมชนพอเพียง 9 มีนาคม 2552
เศรษฐกิจพอเพียง ทางออกการกู้วิกฤติเศรษฐกิจชาติ • นายกรัฐมนตรีกล่าวที่ World Economic Forum • นักเศรษฐศาสตร์รางวัล Nobel หลายท่าน • เห็นตรงกันว่า... • “หัวใจ การเข้าถึงความสามารถ การพัฒนาเศรษฐกิจโลก • คือ การมุ่งเน้นไปที่การดำรงอยู่ของชีวิตมนุษย์ • ไม่ใช่ วัตถุ/ความสะดวกสบาย”
“In Thailand, we are very fortunate to have His Majesty the King who thought of the concept of Sufficiency Economy, where people who are not ready, don’t have opportunity, or cannot take advantage of the market system are encouraged to make sure that in small communities they look after themselves and have the self-sufficiency in food...” นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ World Economic Forum 2009 @Davos
รูปธรรมเศรษฐกิจพอเพียงรูปธรรมเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียงระดับชุมชน โครงการชุมชนพอเพียง
โครงการชุมชนพอเพียง ปัญญา เงิน ชุมชน ร่วมมือ ร่วมใจ เลิกจน … ชุมชนพอเพียง
โครงการชุมชนพอเพียง Gross Community Happiness(GCH) Gross Community Product (GCP) ผลิตภัณฑ์มวลรวมชุมชน ความสุขมวลรวมชุมชน
โครงการชุมชนพอเพียง • งบประมาณ: 21,200 ล้านบาท • เครือข่ายขับเคลื่อนองค์ความรู้ • - นายมีชัย วีระไวทยะ • - นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร • - เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน • และเครือข่ายองค์ความรู้อื่นๆ อีกกว่า 100 เครือข่าย
เงื่อนไขในการพิจารณา กรอบโครงการชุมชนพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้คู่คุณธรรม
หลักเกณฑ์การคัดเลือกโครงการหลักเกณฑ์การคัดเลือกโครงการ • โครงการต้องมีความยั่งยืนของการดำเนินโครงการ โดยมีผลต่อเนื่องไม่สิ้นสุดใน • ครั้งเดียว และต้องเข้าหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ • เป็นโครงการที่สามารถรองรับผู้ด้อยโอกาสและผู้ว่างงานในท้องถิ่น ให้สามารถ • พัฒนาไปสู่ความพออยู่ พอกิน พอใช้ ซึ่งเป็นเป้าหมายขั้นต้นของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • เป็นโครงการที่สนับสนุนและส่งเสริมการลดต้นทุนและปัจจัยในการผลิตด้านต่างๆ • อาทิ ด้านการเกษตร ทั้งนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพ เพิ่มรายได้ • ลดรายจ่าย สร้างโอกาสในอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานราก • เป็นโครงการที่สนับสนุนและส่งเสริมการใช้และการอนุรักษ์พลังงาน หรือพลังงาน • ทดแทนหรือพลังงานทางเลือก • เป็นโครงการที่สนับสนุนและส่งเสริมการอนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ • สิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม และการท่องเที่ยว
ขั้นตอนการดำเนินงาน 5 วัน สรุปรายงาน จังหวัด เพื่อทราบ สำนักงานฯ พิจารณาอนุมัติโอนเงิน สรุปรายงาน 5 วัน กรมการปกครอง เพื่อตรวจสอบ ภายใน 15 วัน 3 วัน 5 วัน โครงการ ชุมชน/ประชาคม อำเภอ/เทศบาล/เขตรับรอง สำนักงานปลัดสำนักนายกฯ สำนักงานฯ 5 วัน สรุปเพื่ออนุมัติจัดสรรงบฯ แจ้งรายชื่อชุมชน/โครงการ เบิกเงินโครงการ หลังได้รับแจ้งจากสำนักงานฯ ธนาคาร
การจัดสรรงบประมาณให้แก่ชุมชนการจัดสรรงบประมาณให้แก่ชุมชน • จำนวนประชากร จัดสรรงบประมาณไม่เกิน • ขนาดที่ 1 ไม่เกิน 50 คน 100,000 บาท • ขนาดที่ 251 - 150 คน 200,000 บาท • ขนาดที่ 3151 - 250 คน 300,000 บาท • ขนาดที่ 4251 - 500 คน 400,000 บาท • ขนาดที่ 5501 – 1,000 คน 500,000 บาท • ขนาดที่ 61,001 – 1,500 คน 600,000 บาท • ขนาดที่ 7 ตั้งแต่ 1,501 คนขึ้นไป 700,000 บาท • ชุมชนที่ไม่ได้รับงบประมาณในปี 2551 จะได้รับการสนับสนุน • งบประมาณเต็มจำนวน ตามเกณฑ์ข้างต้น • ชุมชนที่ได้รับงบประมาณในปี 2551 แล้ว จะได้รับการสนับสนุน • งบประมาณครึ่งหนึ่งของเกณฑ์ข้างต้น
ขั้นตอนการตรวจเกณฑ์ สำนักงานฯ ผู้ตรวจเกณฑ์ 2 คน คณะกรรมการ ประชาคมใหม่ ไม่ผ่าน 2 ผ่าน 1 ไม่ผ่าน 1 ผ่าน 2 คณะอนุกรรมการ
ตัวอย่างกลุ่ม โครงการชุมชนพอเพียง ที่ สมควรดำเนินการ • - การผลิตอาหารสัตว์ • - การผลิตปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ • - การซื้อเครื่องจักรกลการเกษตรเพื่อใช้ร่วมกันหรือให้บริการ • - โรงสีชุมชน ประปาชุมชน ร้านค้าชุมชน • - การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร • - การส่งเสริมกลุ่มอาชีพ • - อุตสาหกรรมในครัวเรือนขนาดย่อม ธุรกิจชุมชนขนาดย่อม
ตัวอย่างกลุ่ม โครงการชุมชนพอเพียง ที่ สมควรดำเนินการ - การผลิตไบโอดีเซล ไบโอก๊าซ - การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ในการผลิตไฟฟ้า/น้ำร้อน - การใช้กังหันลมผลิตไฟฟ้า - การใช้ห้องเย็นประสิทธิภาพสูงสำหรับชุมชน - การปลูกป่าชุมชน (ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง) - โฮมสเตย์
ตัวอย่างกลุ่ม โครงการชุมชนพอเพียง ที่ ไม่สมควรดำเนินการ • - การสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง ต่อเติม ศาลาเอนกประสงค์ ศาลากลางบ้าน ศาลาประจำหมู่บ้าน ศาลาที่พักริมทาง ที่ทำการชุมชน ที่อ่านหนังสือพิมพ์ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ห้องสมุด ห้องน้ำ ห้องเก็บของ โรงครัว ป้อมยาม-จุดตรวจ • - การสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง ต่อเติม ศาสนสถานทุกศาสนา สถานศึกษาและสถานีอนามัย • - การจัดซื้อ เต็นท์ โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องครัว โรงเย็น เพื่อใช้ในพิธีการต่างๆ • - การจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร โทรทัศน์ กล้อง อุปกรณ์การศึกษา เครื่องมือแพทย์ ให้แก่ สถาบันการศึกษาและสถานพยาบาล • - การจัดซื้อโอ่งน้ำ แท็งค์น้ำ เครื่องกรองน้ำ สำหรับแจกจ่ายตามครัวเรือน • - การสร้าง/จัดซื้อ หอกระจายข่าว เสียงตามสาย • - การปรับปรุงภูมิทัศน์ ตกแต่งสถานที่ ทำรั่ว กำแพง สถานที่สาธารณะต่างๆ
ตัวอย่างกลุ่ม โครงการชุมชนพอเพียง ที่ ไม่สมควรดำเนินการ • - การจัดซื้อเมล็ดพันธุ์พืช ปุ๋ย สำหรับใช้ในการเกษตร • - การทำซุ้มประตูหมู่บ้าน ป้ายชื่อชุมชน ป้ายชื่อเจ้าบ้าน/บ้านเลขที่ • - การจัดซื้อเครื่องแต่งกายของกลุ่มกิจกรรมต่างๆ ทุนการศึกษา เบี้ยเลี้ยงคนชรา • - การสมทบงบประมาณกับกองทุน สหกรณ์ เพื่อการกู้ยืม • - การจัดอบรมศึกษาดูงาน ทัศนศึกษานอกสถานที่
โครงการชุมชนพอเพียง • สำนักงานชุมชนพอเพียง • 0-2629-9226 • www.chumchon.go.th
โครงการชุมชนพอเพียง 19 มี.ค. ท่านนายกฯ เปิดตัวโครงการ โอนเงินให้ชุมชนได้ตั้งแต่ มีนาคมนี้เป็นต้นไป !!!