170 likes | 475 Views
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542. ทุจริตต่อหน้าที่. 1. ปฏิบัติ/ละเว้นการปฏิบัติอย่างใด - ในตำแหน่งหน้าที่ - โดยมีพฤติการณ์ที่อาจทำให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีตำแหน่ง หน้าที่ ทั้งที่ไม่มีเลย หรือ
E N D
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ทุจริตต่อหน้าที่ 1. ปฏิบัติ/ละเว้นการปฏิบัติอย่างใด - ในตำแหน่งหน้าที่ - โดยมีพฤติการณ์ที่อาจทำให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีตำแหน่ง หน้าที่ ทั้งที่ไม่มีเลย หรือ 2. ใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ 3. เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสำหรับตน/ผู้อื่น
การตรวจสอบ จนท.ของรัฐ . 1. กล่าวหา จนท.ของรัฐ เป็นหนังสือ - ยังดำรงตำแหน่งอยู่ - พ้นตำแหน่งแล้ว แต่ยังไม่เกิน 2 ปี 2. ทำการไต่สวน 3. ไต่สวนเสร็จแล้ว และมีมติว่า ฃ้อกล่าวหานั้น (1) ไม่มีมูล - ข้อกล่าวหาตกไป (2) มีมูลผิดวินัย ส่งเรื่องให้ ผบ./ผู้มีอำนาจ พิจารณาโทษทางวินัย ตามฐานความผิดที่มีมติ โดย
- ไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอีก - ให้พิจารณาลงโทษ ภายใน 30 วัน นับแต่ ได้รับเรื่อง และให้ส่งสำเนาคำสั่ง ไปให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายใน 15 วัน นับแต่วันออกคำสั่ง ถ้า ผบ.ละเลย ให้ถือว่าผิดวินัย/ผิดกฎหมาย ว่าด้วยบริหารงานบุคคล - ผู้ถูกลงโทษ มีสิทธิอุทธรณ์ดุลพินิจในการสั่งลงโทษได้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีคำสั่งลงโทษ - กรณี ผบ.ไม่ลงโทษ/ลงโทษไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม ให้เสนอความเห็นต่อนายกรัฐมนตรี พิจารณาสั่งการ
(3) มีความผิดทางอาญา - ส่งเรื่องทั้งหมด ไปให้ อัยการสูงสุด ดำเนินคดีอาญาในศาล - ให้ถือว่ารายงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นสำนวนการ สอบสวน และให้ศาลประทับฟ้องโดยไม่ต้องไต่สวนมูลฟ้อง - เมื่อจะฟ้องคดีอาญา ให้มีหนังสือแจ้งผู้ถูกกล่าวหาไป รายงานตัว ต่อ ป.ป.ช. ถ้าหากไม่ไป ก็ให้แจ้งต่อตำรวจ ให้จัดการนำตัวไปส่งต่อ อัยการสูงสุด/คณะกรรมการ ป.ป.ช. - การควบคุมตัว/ การปล่อยตัวชั่วคราว ให้อัยการสูงสุด หรือ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นผู้พิจารณา
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.2542
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลัง โทษปรับทางปกครอง ชั้นที่ 1 ปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน ชั้นที่ 2 ปรับเท่ากับเงินเดือน 2 - 4 เดือน ชั้นที่ 3 ปรับเท่ากับเงินเดือน 5 - 8 เดือน ชั้นที่ 4 ปรับเท่ากับเงินเดือน 9 - 12 เดือน
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลัง 2. อายุความ/การบังคับใช้ - อายุความ 5 ปี นับแต่ทำความผิด - บังคับใช้ตั้งแต่ 20 ตุลาคม 2544 3. คำวินิจฉัย โทษปรับทางปกครอง ของคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน เป็นที่สุด (ม.23 วรรคสอง)
ฐานความผิดและโทษเกี่ยวกับการเงินฐานความผิดและโทษเกี่ยวกับการเงิน 1. การเบิก/จ่ายเงิน - ปฎิบัติ/ละเว้นปฏิบัติ ตามระเบียบ กฎหมาย - ไม่มีหลักฐาน/ทำหลักฐานเท็จ เบิก-จ่าย 1.1 ราชการเสียหาย ปรับ ชั้น 3 1.2 ผู้สั่งจ่าย/ผบ. ผิดร่วมด้วย ปรับชั้น 4 2. การเก็บเงิน รับเงิน ไม่ออกใบเสร็จ/ไม่นำฝาก ปรับชั้น 1
3. การยืมเงิน - อนุมัติหรือจ่ายเงินยืม ไม่ถูกต้องตามระเบียบ หรือกฎหมาย แล้วเกิดความเสียหาย ปรับชั้น 3 - ไม่เร่งรัด ติดตาม ทวงเงินยืม แล้วเกิดความ เสียหาย ปรับชั้น 2
ความผิดเกี่ยวกับการพัสดุความผิดเกี่ยวกับการพัสดุ 1. จัดซื้อจัดจ้าง โดยปฏิบัติ/ละเว้น ปฏิบัติหน้าที่ ตาม ก.ม./ระเบียบ แบ่งซื้อแบ่งจ้าง ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 4 2. ควบคุมงาน/ตรวจการจ้าง โดยปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้องตาม ก.ม.-ระเบียบ ปรับชั้น 3 ถ้ากระทำโดยมิชอบ ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 4
3. ตรวจรับพัสดุ โดยปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้อง ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 4 4. เบิกจ่ายพัสดุ/ทำบัญชีหรือทะเบียน โดยปฏิบัติ/ ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้องตาม ก.ม.-ระเบียบ ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 2
5. ตรวจสอบพัสดุประจำปี โดยปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้อง ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 2 ถ้า ผบ. ไม่แต่งตั้ง จนท.ตรวจสอบประจำปี ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 3 6. มีหน้าที่เกี่ยวกับยานพาหนะ โดยปฏิบัติ/ ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้องตาม ก.ม.-ระเบียบ ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 2
7. ถ้า จนท.ผู้กระทำผิด หรือ มีส่วนร่วมในการทำ ความผิด นั้น เป็น ผบ.ต้องรับโทษสูงกว่า 1 ชั้น เว้นแต่เป็นโทษที่กำหนดไว้เป็น ชั้น 4 8. ใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดยผิดวัตถุประสงค์/ โดยไม่มีอำนาจ ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 3