1 / 36

พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2550

สาระสำคัญของ. พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2550. โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เนื้อหาการบรรยาย. ส่วนที่ 1 โครงสร้าง พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535.

fritzi
Download Presentation

พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาระสำคัญของ พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. เนื้อหาการบรรยาย • ส่วนที่ 1โครงสร้าง พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์ • พลังงานพ.ศ. 2535 • ส่วนที่ 2ปัญหาและอุปสรรคการดำเนินการของ พ.ร.บ. • การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 • ส่วนที่ 3การเปลี่ยนแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิกใน • พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน • พ.ศ. 2535

  3. ส่วนที่ 3 • โครงสร้าง พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานพ.ศ. 2535 พรบ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 พ.ร.ฎ. โรงงานควบคุม ส่วนที่ 2 พ.ร.ฎ. อาคารควบคุม กฎกระทรวง แต่งตั้ง ผชอ. แต่งตั้ง ผชร. เจ้าของโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม ส่วนที่ 1 โครงสร้าง พรบ 2535 มาตรฐาน การอนุรักษ์พลังงาน (โรงงาน) เป้าหมาย /แผน อนุรักษ์พลังงาน มาตรฐาน การอนุรักษ์พลังงาน (อาคาร) จัดส่ง /เก็บข้อมูล

  4. ส่วนที่ 3 เนื้อหา พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 2535 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1 โครงสร้าง พรบ 2535

  5. ส่วนที่ 3 ปัญหาและอุปสรรคของ พ.ร.บ. ปี 2535 แบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ (1) ด้านกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติ (2) ด้านบุคลากร (3) ด้านความรู้และเทคโนโลยี (4) ด้านการสนับสนุน (5) ด้านกองทุนอนุรักษ์พลังงาน ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1

  6. ส่วนที่ 3 (1) ปัญหาด้านกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติ 1.1 ไม่มีกฎหมายรับรองครบทุกภาคส่วน 1.2 มีขั้นตอนการดำเนินการมาก 1.3 ไม่มีการจัดประเภทอาคาร 1.4 ไม่มีความชัดเจนของระเบียบ ขั้นตอนบางส่วน 1.5 เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อกำหนดด้านเทคนิคได้ยาก ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1

  7. ส่วนที่ 3 (2) ด้านบุคลากร 2.1 มีบุคลากรไม่เพียงพอกับการดำเนินการ 2.2 ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านอนุรักษ์พลังงาน 2.3 เกิดปัญหาด้านคุณสมบัติและภาระของ ผชร/ผชอ 2.4 เกิดปัญหาการมีส่วนร่วมของเจ้าของ ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1

  8. ส่วนที่ 3 (3) ด้านความรู้และเทคโนโลยี 3.1 มีค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงและดำเนินการด้าน อนุรักษ์พลังงานสูง 3.2 ขาดความเชื่อมั่นต่อเทคโนโลยีด้านพลังงาน 3.3 ไม่มีการสนับสนุนในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี อย่างเพียงพอ ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1

  9. ส่วนที่ 3 (4) ด้านการสนับสนุน ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1

  10. ส่วนที่ 3 (5) ด้านกองทุนอนุรักษ์พลังงาน • 5.1 การนำเงินส่งกองทุนและการขอคืนเงินส่วนเกิน • 5.2 การบริหารจัดการกองทุนและขั้นตอนการดำเนินงาน • ล่าช้า ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1

  11. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก แ เนื้อหาหลักของ ส่วนที่ 2 พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535ที่ได้รับการแก้ไขในพ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ส่วนที่ 1

  12. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก • รัฐมนตรีสามารถออกประกาศกระทรวง แก้ไขปัญหาข้อกำหนดด้านเทคนิคได้ ส่วนที่ 2 • การใช้ระบบการจัดการพลังงาน เป็นการสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างความเชื่อมั่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดขั้นตอนการดำเนินการด้านอนุรักษ์พลังงานและความยั่งยืนของระบบการจัดการพลังงาน • การก่อสร้างอาคารใหม่ต้องได้รับการออกแบบตามมาตรฐาน ส่วนที่ 1 • การกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของเครื่องจักร วัสดุและอุปกรณ์ การสนับสนุนการวิจัยด้านเทคโนโลยี และการขยายขอบข่ายการสนับสนุนทุกภาคส่วน

  13. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก • การโอนกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานมาอยู่ภายใต้กระทรวงพลังงาน ส่วนที่ 2 • การแก้ไขและปรับหลักเกณฑ์ ขั้นตอน วิธีการ และระยะเวลาในการเบิกจ่าย • การแก้ไขปัญหาด้านการส่งเงินเข้ากองทุน (การส่งเงินล่าช้า/การส่งเงินไม่ครบตามจำนวน) ส่วนที่ 1 • ระบบตรวจสอบและรับรองจะทำให้สามารถแก้ปัญหาด้านบุคลากร ทั้งภาครัฐและเอกชนได้

  14. มาตราที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1

  15. มาตราที่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม และยกเลิก มาตรา ๑ มาตรา ๒ มาตรา ๖ มาตรา ๔(๓) มาตรา ๒ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 มีผลบังคับในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ 1มิถุนายน 2551

  16. ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก มาตรา ๑ มาตรา ๒ มาตรา ๖ มาตรา ๔ (๓) มาตรา ๖ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม พ.ร.บ. นี้ ทั้งนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของตน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน มีอำนาจแต่งตั้งพนักงาน เจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงและกำหนดกิจการอื่น เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม พ.ร.บ. นี้ ทั้งนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของตน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงหรือประกาศตลอดจนมีอำนาจกำหนดกิจการอื่น เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

  17. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๑ การอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน แก้ไขมาตรา ๙ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1

  18. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๑ การอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน ยกเลิกมาตรา๑๑-๑๖ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1

  19. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๒ การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร แก้ไขมาตรา ๑๙ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1

  20. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๒ การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร แก้ไขมาตรา ๒๑ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1

  21. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๒ การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร ยกเลิกมาตรา๒๒ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1

  22. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๓ การอนุรักษ์พลังงานในเครื่องจักร… แก้ไขมาตรา๒๓ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1

  23. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๔ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน มาตรา๒๔ และ ๒๔/๑ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1

  24. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๔ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน แก้ไขมาตรา๒๗ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1

  25. ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๔ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ส่วนที่ 2 มาตรา ๓๔ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ตลอดจนเชิญบุคคลใดๆ มาให้ข้อเท็จจริง คำอธิบาย คำแนะนำหรือความเห็นได้ ให้คณะกรรมการมีอำนาจตาม พ.ร.บ. เดิม (พ.ศ.2535) พร้อมทั้งเพิ่มเติมให้คณะอนุกรรมการมีอำนาจในการอนุมัติการขอเปลี่ยนแปลงการจัดสรรเงินกองทุนให้แก่กิจการ แผนงานหรือโครงการได้เท่าที่ไม่เกินจากวงเงินที่คณะกรรมการกองทุนจัดสรรให้... ส่วนที่ 1

  26. ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๔ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน มาตรา ๓๘ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่ส่งเงินกองทุน ไม่ส่งเงินเข้ากองทุนหรือส่งเงินเข้ากองทุนไม่ครบตามจำนวนที่ต้องส่งให้กรมสรรพสามิตสำหรับผู้ผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ณ โรงกลั่นและจำหน่ายเพื่อใช้ในราชอาณาจักร กรมศุลกากรสำหรับผู้นำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงหรือกรมทรัพยากรธรณีสำหรับผู้ที่ซื้อหรือได้มาซึ่งก๊าซจากผู้รับสัมปทานให้มีการดำเนินคดีตามมาตรา ๕๘ ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่ส่งเงินกองทุน ไม่ส่งเงินเข้ากองทุนหรือส่งภายหลังระยะเวลาที่กำหนด นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายแล้ว ให้เสียเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ ๓ ต่อเดือนของจำนวนเงินดังกล่าว... มีข้อยกเว้นเพิ่มเติมดังนี้ (๑) ในกรณีที่ผู้นั้นเห็นเองว่าตนมีกรณีดังกล่าว ให้ผู้นั้นส่งเงินตามจำนวนที่ต้องส่งหรือตามจำนวนที่ขาด พร้อมทั้งเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ ๓ ต่อเดือนของจำนวนเงินดังกล่าว... (๒) ในกรณีที่กรมสรรพสามิต กรมศุลกากรหรือกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติตรวจพบและแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้มีหน้าที่ส่งเงินเข้ากองทุนในระยะเวลาที่กำหนด และผู้นั้นได้ส่งเงินตามจำนวนที่ต้องส่งหรือตามจำนวนที่ขาด พร้อมทั้งเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ ๖ ต่อเดือนของจำนวนเงินดังกล่าว...

  27. ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๖ ค่าธรรมเนียมพิเศษ แก้ไขจาก มาตรา ๙ หรือ ๑๙ เป็นมาตรา ๙ (๑) หรือ ๒๑ (๑) มาตรา ๔๒ พ.ร.บ. 2550 พ.ร.บ. 2535 เมื่อพ้นกำหนด ๓ ปีนับแต่วันที่กฎ กระทรวงที่ออกตามมาตรา ๙ หรือ ๑๙ ใช้บังคับ ในกรณีที่เป็นโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมก่อน...หรือนับตั้งแต่...หรือหลังวันที่กฎกระทรวงใช้บังคับ ถ้าเจ้าของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม จะต้องมีหน้าที่ชำระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า... เมื่อพ้นกำหนด ๓ ปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๙ (๑) หรือ ๒๑ (๑) ใช้บังคับ ในกรณีที่เป็นโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมก่อน...หรือนับตั้งแต่...หรือหลังวันที่กฎกระทรวงใช้บังคับ ถ้าเจ้าของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงดังกล่าวต้องชำระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า...

  28. ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๕ ค่าธรรมเนียมพิเศษ มาตรา ๔๖

  29. ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๔๗ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ ดังนี้ (๑) มีหนังสือเรียกเจ้าของโรงงานควบคุมหรืออาคาร ควบคุมมาให้ถ้อยคำหรือแจ้งข้อเท็จจริง หรือทำคำชี้แจงเป็น หนังสือ หรือส่งเอกสารหลักฐานใด ๆ เพื่อการตรวจสอบ หรือเพื่อประกอบการพิจารณา (๒) เข้าไปในโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมใน ระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก...และให้มีอำนาจ ตรวจสอบเครื่องจักรและอุปกรณ์หรือวัสดุในปริมาณพอสมควร ที่เป็นไปได้ เพื่อเป็นตัวอย่างในการตรวจสอบได้ เพิ่มเติมอำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่อีก ๑ ข้อ คือ (๓) ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน การใช้พลังงานในเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน...

  30. ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๔๘/๑

  31. ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๙ บทกำหนดโทษ มาตรา ๕๕ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 เจ้าของโรงงานควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑ (๑) หรือเจ้าของอาคารควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑ (๑) ซึ่งได้นำมาใช้โดยอนุโลมตามมาตรา ๒๒ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท เจ้าของโรงงานควบคุม เจ้าของอาคารควบคุมหรือผู้รับผิดชอบด้านพลังงานผู้ใดไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา ๙ หรือมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท

  32. ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๙ บทกำหนดโทษ มาตรา ๕๖ พ.ร.บ. 2550 พ.ร.บ. 2535 ผู้รับใบอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน การใช้พลังงานในเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานตามมาตรา ๔๘/๑ ผู้ใดรายงานผลการตรวจสอบและรับรองตามมาตรา ๔๗ (๓) อันเป็นเท็จ หรือไม่ตรงตามความเป็นจริง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือนหรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เจ้าของโรงงานควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) หรือมาตรา ๑๕ หรือเจ้าของอาคารควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) หรือมาตรา ๑๕ ซึ่งได้นำมาใช้โดยอนุโลมตามมาตรา ๒๒ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท

  33. ขอขอบคุณ และ โปรดช่วยกันอนุรักษ์พลังงาน

More Related