430 likes | 548 Views
การบริหารการจัดการ ฐานข้อมูลด้านสหกรณ์ ประจำปี 2556. วัตถุประสงค์. 1. เพื่อต้องการทราบจำนวนสหกรณ์ที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ในฐานะนายทะเบียนสหกรณ์ รับผิดชอบดูแลเปรียบเทียบกับจำนวนสหกรณ์ของ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 2. เพื่อทำความเข้าใจเป็นทิศทางเดียวกันเกี่ยวกับ จำนวนและสถานภาพของสหกรณ์.
E N D
วัตถุประสงค์ • 1. เพื่อต้องการทราบจำนวนสหกรณ์ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ในฐานะนายทะเบียนสหกรณ์ รับผิดชอบดูแลเปรียบเทียบกับจำนวนสหกรณ์ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ • 2. เพื่อทำความเข้าใจเป็นทิศทางเดียวกันเกี่ยวกับจำนวนและสถานภาพของสหกรณ์
จำนวนสหกรณ์ ณ วันที่ 20 กันยายน 2555
ที่มาของข้อมูลสหกรณ์ • ฐานข้อมูลที่อยู่ในระบบฐานข้อมูลบนเครื่อง PDA นั้น นำมาจาก ฐานข้อมูลหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์ (Web Application ) ที่ สำนักนายทะเบียนสหกรณ์ รับผิดชอบ และศูนย์สารสนเทศ เป็นผู้ดูแลทั้งระบบ การเพิ่มชื่อเป็นการเพิ่มชื่อแต่ละสหกรณ์ด้วยมือ เข้าระบบฐานข้อมูล PDAให้ตรงกับฐานข้อมูลของกรมส่งเสริมสหกรณ์
สถานภาพสหกรณ์ทางกฎหมายสถานภาพสหกรณ์ทางกฎหมาย • 1.ยังไม่เริ่มดำเนินการ • 2. ดำเนินการ • 3. เลิกสหกรณ์ (อยู่ระหว่างการชำระบัญชี) • 4. ถอนชื่อ
สถานภาพสหกรณ์ในการจัดมาตรฐานสหกรณ์สถานภาพสหกรณ์ในการจัดมาตรฐานสหกรณ์ • 1. ดำเนินการ ในปีที่จัดมาตรฐานสหกรณ์ • 2. จัดตั้งสหกรณ์ไม่ครบ 2 ปี • 3. หยุดดำเนินการ • 4. เลิก / อยู่ระหว่างการชำระบัญชี
การเปรียบเทียบสถานภาพสหกรณ์การเปรียบเทียบสถานภาพสหกรณ์ การจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ขึ้นอยู่กับระยะเวลา เลิกสหกรณ์(อยู่ระหว่างการชำระบัญชี) สหกรณ์ยังไม่ดำเนินการ และสหกรณ์ดำเนินการ สหกรณ์มีทั้งดำเนินการ และสหกรณ์หยุดดำเนินการ ถอนชื่อ 1.จัดตั้งไม่ครบ 2 ปี 2. ดำเนินการในปีที่จัดมาตรฐาน 4. ถอนชื่อ 3. เลิกดำเนินการ 5. หยุดดำเนินการ 2.นำมาจัดมาตรฐาน 1.ไม่นำมาจัด 5.ไม่นำมาจัด 3.ไม่นำมาจัด
ปัญหาสถานภาพของสหกรณ์ที่พบปัญหาสถานภาพของสหกรณ์ที่พบ • หลักการ ต้องใช้ฐานข้อมูลหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นหลัก • 1. ฐานข้อมูลของบนเครื่อง PDA มาจาก ฐานข้อมูลหลักของกรมส่งเสริม -สหกรณ์ (Web Application) เป็นหลัก มีข้อแตกต่าง เนื่องจาก มีการปรับปรุง ฐานข้อหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์แล้ว ไม่ได้แจ้งให้ ศูนย์สารสนเทศ เพิ่มเติมฐานข้อมูลบนเครื่อง PDA หรือ แจ้งให้แก้ไขบนเครื่อง PDA แล้ว แต่ยังไม่ได้แก้ไขฐานข้อมูลหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์
ปัญหาสถานภาพของสหกรณ์ที่พบปัญหาสถานภาพของสหกรณ์ที่พบ • หลักการ ต้องใช้สถานภาพของการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ เป็นหลัก เนื่องจาก การใช้ฐานข้อมูล 2 ปีบัญชีเป็นหลัก • 2. ข้าราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ มักต้องการแสดงว่า สหกรณ์ที่จัดตั้งใหม่ สามารถดำเนินการได้แล้ว ได้แก้ไขสถานภาพในฐานข้อมูลหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย คือ ดำเนินการแล้ว • แต่ในการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ สหกรณ์ที่จัดตั้งใหม่ มีกำหนดระยะเวลา ไม่ครบ 2 ปีทางบัญชี ที่ไม่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ดังนั้น ให้ใช้ ดำเนินการ (จัดตั้งไม่ครบ 2 ปี) ในการจัดมาตรฐาน-สหกรณ์ ที่ต้องประสานงานกับ สำนักจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ต่อไป
การขอแก้ไขสถานภาพของสหกรณ์การขอแก้ไขสถานภาพของสหกรณ์ ต้นปีงบประมาณของทุกปี ทำการตรวจสอบสถานภาพเป็นอันดับแรก ตรงกับความเป็นจริง หรือไม่ รวมทั้ง สหกรณ์ที่จะครบ 2 ปี และนำมาจัดในปีปัจจุบัน หรือ เมื่อพบข้อผิดพลาดทางสถานภาพ ระหว่างปี ให้ส่งทาง E – mail มายัง cpd_pda@cpd.go.th แห่งเดียว
การเพิ่มชื่อสหกรณ์ เมื่อสำนักงานสหกรณ์จังหวัด สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 หรือ พื้นที่ 2 ได้จัดตั้งสหกรณ์ในเดือนใด ให้ส่งรายชื่อทาง E – mail มายัง cpd_pda@cpd.go.th เช่นกัน และ ในเดือนถัดไป ทำการ Download เฉพาะรายชื่อสหกรณ์ใหม่อีกหนึ่งรอบ จึงจะปรากฏรายชื่อใหม่ที่จัดตั้งขึ้นอยู่ในเครื่อง PDAทำการประเมินหลังจากการจัดตั้งสหกรณ์ในเดือนถัดไปได้
การแก้ไขชื่อ ประเภท และที่ตั้งของสหกรณ์ เมื่อสหกรณ์ได้แก้ไขข้อบังคับเสร็จเรียบร้อยแล้ว ไม่ว่า จะแก้ไขชื่อ ประเภท และที่ตั้งของสหกรณ์ ขอให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 หรือ พื้นที่ 2 ส่งรายชื่อทาง E – mail มายัง cpd_pda@cpd.go.th เช่นกัน
ที่ตั้งของสหกรณ์ ข้ามจังหวัด หน้าที่ 1 จาก 2 หน้า 1. เมื่อสหกรณ์ขอแก้ไขข้อบังคับเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ตั้งข้ามจังหวัด และนายทะเบียนรับจดทะเบียนแล้ว 2. ขอให้เป็นการประสานภายในระหว่างสำนักงานสหกรณ์จังหวัด สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานครพื้นที่ 1 หรือพื้นที่ 2 ก่อน แล้วแต่กรณี 3. ส่งมอบเอกสารระหว่างจังหวัดเรียบร้อยแล้ว
ที่ตั้งของสหกรณ์ ข้ามจังหวัด หน้าที่ 2 จาก 2 หน้า • 4 ให้จังหวัดปลายทางที่สหกรณ์ย้ายข้ามจังหวัด ส่งรายชื่อทาง E – mailมายัง cpd_pda@cpd.go.th ด้วย และจังหวัดต้นทางที่สหกรณ์ขอย้ายข้ามจังหวัด รายงานทาง E – mail มายังcpd_pda@cpd.go.th ด้วย ว่า ได้ส่งมอบเอกสารระหว่างกันเรียบร้อยแล้ว
ปัญหาที่พบในการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมาปัญหาที่พบในการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมา • หลักการ การจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ เน้น สหกรณ์ที่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ประจำปี ดังนั้น ต้องเป็นสหกรณ์ที่อยู่ระหว่างการดำเนินการในรอบปีที่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ 1. สหกรณ์ที่ไม่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์เช่น สหกรณ์ที่อยู่ในเกณฑ์จัดตั้งไม่ครบ 2 ปี สหกรณ์ที่หยุดดำเนินการ และสหกรณ์ที่เลิก หรืออยู่ระหว่างการชำระบัญชีแต่มีการประเมินผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ได้ เกรด Aหรือ เกรด B หรือ เกรด C
ปัญหาที่พบในการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมาปัญหาที่พบในการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมา • หลักการ สหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์แบบ 7 ข้อเดิม ต้องได้รับการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ระดับเกรด A (ระดับดีเลิศ) และระดับเกรด B (ระดับดีมาก) เพียง 2 ระดับ • 2. สหกรณ์ที่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ เมื่อเปรียบเทียบกับการประเมินการผ่านมาตรฐานสหกรณ์แบบ 7 ข้อเดิม กล่าวคือ สหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์แบบ 7 ข้อเดิม ได้ระดับ เกรด A,B. C และ สหกรณ์ที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ แบบ 7 ข้อเดิม แต่ได้ระดับ เกรด B (ระดับดีมาก) ไม่ได้ , ระดับเกรด C (ระดับดี) ก็มีด้วย และเกรด F (ระดับไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน) มีจำนวนมาก
ปัญหาที่พบในการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมาปัญหาที่พบในการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมา • หลักการ สหกรณ์ที่ผ่านการประเมินแล้ว ต้องรายงานเข้าระบบทุกเดือน เป็นยอดสะสมเพิ่มขึ้น • 3. สหกรณ์ที่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์และสิ้นสุดแล้ว ข้าราชการไม่รายงานเข้าระบบอย่างต่อเนื่อง ทำให้ยอดสะสมของผลการประเมินของแต่ละจังหวัดหลายจังหวัด ในแต่ละเดือน เดือนปัจจุบันยอดสะสมต่ำกว่า เดือนที่ผ่านมา เป็นต้น ไม่สอดคล้องกัน เกือบตลอดทั้งปี จนถึงแบบสรุปรายปีของปี 2553 – 2555
ปัญหาที่พบในการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมาปัญหาที่พบในการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมา • หลักการ สหกรณ์ที่ผ่านการประเมินแล้ว ถ้าผิดพลาดสามารถแก้ไขได้ ถ้าไม่ขอแก้ไข ผู้ประเมินและรายงานผลการประเมิน เป็นผู้รับผิดชอบ • 4. สหกรณ์ที่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์และสิ้นสุดแล้ว และไม่ผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอน ข้าราชการไม่รายงานเข้าระบบอย่างต่อเนื่อง เช่น สหกรณ์ ก. จำกัด บางเดือนก็ผ่านได้เกรด B บางเดือนก็ไม่ผ่าน ได้เกรด F บางเดือนก็ผ่านแล้วได้เกรด A เป็นต้น สลับกันไป โดยไม่ตรวจสอบ ไม่แจ้งสาเหตุ บางจังหวัดไม่แจ้งขอแก้ไข เป็นต้น ทำให้ยอดสะสมของผลการประเมินของแต่ละจังหวัดหลายจังหวัด ในแต่ละเดือน เดือนปัจจุบันยอดสะสมสูง เดือนถัดไป ยอดสะสมต่ำว่าเดือนที่ผ่านมา เป็นต้น ไม่สอดคล้องกัน เกือบตลอดทั้งปี จนถึงแบบสรุปรายปีของปี 2553 – 2555
การประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2556 หลักเกณฑ์พื้นฐานเบื้องต้น ทำการประเมินสหกรณ์ทุกประเภท ทุกสหกรณ์ ที่ยังไม่มีการถอนชื่อออกจากระบบ สถานะ ถอนชื่อออกจากระบบแล้ว ไม่ต้องรายงาน
การประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ตามสถานภาพสหกรณ์ (หน้า 1 จาก 4 หน้า) • กรณีที่ 1 สหกรณ์ที่ดำเนินการอยู่ และนำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2556 ขั้นตอนที่ 1 ทำการประเมินในส่วนของกระบวนการจัดการภายในสหกรณ์ เป็นประจำทุกเดือน (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) ขั้นตอนที่ 2เมื่อสหกรณ์ประชุมใหญ่ในเดือนใด ให้ทำการประเมินในส่วนผลการดำเนินงาน 7 ข้อใหญ่ (70 คะแนน) ขั้นตอนที่ 3ห้ามแก้ไข ให้นำส่งเข้าระบบจนสิ้นเดือนสิงหาคม 2555
การประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ตามสถานภาพสหกรณ์ (หน้า 2 จาก 4 หน้า) • กรณีที่ 2 สหกรณ์ที่ดำเนินการ หรือ ยังไม่ดำเนินการอยู่ และไม่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2556 (จัดตั้งไม่ครบ 2 ปี) ขั้นตอนที่ 1 ทำการประเมินในส่วนของกระบวนการจัดการภายในสหกรณ์ เป็นประจำทุกเดือน (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) ขั้นตอนที่ 2เมื่อสหกรณ์ประชุมใหญ่ในเดือนใด ก็ไม่ต้องทำการประเมินในส่วนผลการดำเนินงาน 7 ข้อใหญ่ ขั้นตอนที่ 3 ห้ามแก้ไข ให้นำส่งเข้าระบบจนสิ้นเดือนสิงหาคม 2555
การประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ตามสถานภาพสหกรณ์ (หน้า 3 จาก 4 หน้า) • กรณีที่ 3 สหกรณ์ที่หยุดดำเนินการอยู่ และไม่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2556 ขั้นตอนที่ 1 ไม่ต้องทำการประเมินในส่วนของกระบวนการจัดการภายในสหกรณ์ (คะแนน 0 คะแนน) ขั้นตอนที่ 2เมื่อสหกรณ์ประชุมใหญ่ในเดือนใด ก็ไม่ต้องทำการประเมินในส่วนผลการดำเนินงาน 7 ข้อใหญ่ ขั้นตอนที่ 3 ห้ามแก้ไข ให้นำส่งเข้าระบบจนสิ้นเดือนสิงหาคม 2555
การประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ตามสถานภาพสหกรณ์ (หน้า 4 จาก 4 หน้า) • กรณีที่ 4 สหกรณ์ที่เลิกดำเนินการอยู่ / อยู่ระหว่างการชำระบัญชี และไม่นำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2556 ขั้นตอนที่ 1 ไม่ต้องทำการประเมินในส่วนของกระบวนการจัดการภายในสหกรณ์ (คะแนน 0 คะแนน) ขั้นตอนที่ 2ไม่ต้องทำการประเมินในส่วนผลการดำเนินงาน 7 ข้อใหญ่ ขั้นตอนที่ 3 ห้ามแก้ไข ให้นำส่งเข้าระบบจนสิ้นเดือนสิงหาคม 2555
เกณฑ์การให้คะแนน การจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์
การตรวจสอบ (หน้าที่ 1 จาก 2 หน้า) • ขั้นตอนที่ 1 เจ้าหน้าที่ผู้ประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์และนำส่งเข้าระบบผ่านเครื่อง PDAพิมพ์ผลออกมาตรวจสอบว่า ข้อมูลตรงกับ เครื่อง PDA หรือไม่ ลงชื่อกำกับการทำงาน • ขั้นตอนที่ 2 เจ้าหน้าที่จัดส่งให้ กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ตรวจสอบ นำเข้าประชุมคณะทำงานของจังหวัดแต่งตั้ง เพื่อรับทราบและพิจารณา • ขั้นตอนที่ 3 เจ้าหน้าที่ผู้ถือรหัส สหกรณ์จังหวัด ตรวจสอบการส่งข้อมูลเข้าระบบผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ทาง INTRANET
การตรวจสอบ (หน้าที่ 2 จาก 2 หน้า) • ขั้นตอนที่ 4 ศูนย์สารสนเทศ รับผิดชอบ ฐานข้อมูลหลัก ระบบการประมวลผลของแต่ละสหกรณ์ • ขั้นตอนที่ 5 สำนักจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ทำการสุ่มตรวจข้อมูลและยืนยันความถูกต้องที่จังหวัดนำส่งเข้าระบบ หรือในกรณีที่จังหวัดตั้งข้อสังเกตให้ทางสำนักฯทราบและให้ความเห็น
การยืนยันการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์เข้าระบบการยืนยันการประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์เข้าระบบ • 1. ผู้ถือรหัสท่านสหกรณ์จังหวัด เข้าระบบ ตรวจสอบความถูกต้องทั้งจำนวนและผลการประเมิน (รายการที่ 2.2.5) • 2. ผู้ถือรหัสท่านสหกรณ์จังหวัด เข้าระบบ ยืนยันผลการตรวจสอบความถูกต้องทั้งจำนวนและผลการประเมิน (รายการที่ 2.2.6) • 3. ผู้ถือรหัสท่านสหกรณ์จังหวัด เข้าระบบ ตรวจสอบความถูกต้องทั้งจำนวนและผลการประเมินจากการประเมิน (รายการที่ 2.2.7) • หมายเหตุ ถ้ามีการยืนยันเข้าระบบแล้ว แล้วต้องการแก้ไขใหม่อีกครั้ง ในพื้นที่ ไม่สามารถดำเนินการจัดส่งเข้าระบบใหม่อีกหนึ่งรอบได้ ต้องแจ้งให้ส่วนกลางทำการปรับปรุง จึงจะทำการจัดส่งเข้าระบบใหม่ได้
ขั้นตอนการดำเนินการต่อเนื่องขั้นตอนการดำเนินการต่อเนื่อง • 1. จัดทำ Mail รายงานสหกรณ์ที่ประชุมใหญ่แล้ว พร้อมทั้งรายงานเปรียบเทียบการจัดมาตรฐานสหกรณ์ทั้ง 2 แบบ และมี ทะเบียนคุมเป็นรายสหกรณ์ แยกเป็นรายอำเภอ และประเภทสหกรณ์ • 2. Mail ตามข้อ 1 ให้ เสมือน เป็นแบบคำขอใบประกาศ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. สำนักจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ จะออกประกาศกรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นรายเดือน จัดส่งให้จังหวัดทาง E – mail หรือ อาจจะติดประกาศให้ทางจังหวัดพิมพ์ออกจากระบบ แล้ว แจ้งให้สหกรณ์ทราบเป็นรายสหกรณ์ต่อไป
แบบรายงานที่ต้องแนบรายงานทาง Mailเขต .........../จังหวัด................ประจำเดือน.........................
แบบรายงานที่ต้องแนบรายงานทาง Mailเขต .........../จังหวัด................ประจำเดือน.........................
แบบรายงานทะเบียนคุมที่ต้องแนบรายงานทาง Mailเขต .........../จังหวัด................ประจำเดือน.........................
แบบรายงานที่ต้องแนบรายงานทาง Mailเขต .........../จังหวัด................ประจำปี.........................
สิ่งที่ต้องการในปัจจุบัน (หน้า 1 จาก 2 หน้า) แจ้งรายชื่อสหกรณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของสหกรณ์เพื่อนำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ประจำปี 2556 ตัวอย่างเช่น ปี 2555 สหกรณ์ไม่นำมาจัดเนื่องจากจัดตั้งสหกรณ์ไม่ครบ 2 ปี แต่ในปี 2556 ต้องการจะนำมาจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ก็ขอให้แก้ไขในฐานข้อมูลหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์ก่อนแล้วรายงานทาง Mail ให้ทราบด้วย เป็นต้น
สิ่งที่ต้องการในปัจจุบัน (หน้า 2 จาก 2 หน้า) สำหรับสถานภาพสหกรณ์อื่น เช่น ปี 2555 สหกรณ์ดำเนินการ แต่ถ้าเมื่อไร สหกรณ์หยุดดำเนินการ หรือ เลิกสหกรณ์ในเดือนใด ก็ขอให้แก้ไขในฐานข้อมูลหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์ก่อน แล้วรายงานทาง Mail ให้ทราบด้วย เช่นกัน ในทางกลับกัน สหกรณ์ที่หยุดดำเนินการ ต้องการแก้ไข สหกรณ์ได้ดำเนินการแล้วในเดือนใด ก็ขอให้แก้ไขในฐานข้อมูลหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์ก่อน แล้วรายงานทาง Mail ให้ทราบด้วย
การจัดส่งทาง E - mail • 1. CPD_CRD@cpd.go.thเฉพาะการรายงานตามที่สำนักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ กำหนด • 2.CPD_PDA@cpd.go.thใช้เฉพาะการประสานงานในการแก้ไขสถานภาพ เปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนที่ตั้ง เปลี่ยนประเภทของสหกรณ์
สถิติ สหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์
สถิติ สหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์
สถิติ สหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์